การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างนํ้าหนักบรรทุกออกแบบกับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเสาเข็มดาล ด้วยวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์

Main Article Content

Chayutpong Sunanthawit
พงศกร พวงชมภู

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักบรรทุกออกแบบกับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเสาเข็มดาลโดยการแปลผลการรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มแบบสถิตยศาสตร์ และวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์ (Plaxis 2D) ของโครงการก่อสร้างสายทางเลี่ยงเมืองหนองคาย (ด้านตะวันออก) ตอน 1 เพื่อนำผลที่ได้มาใช้ประโยชน์ในออกแบบและการก่อสร้างในโครงการหรือพื้นที่ใกล้เคียง เสาเข็มเจาะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.50, 1.20 และ0.80 เมตร ยาว 13.00 เมตร แรงอัดที่ออกแบบ 600, 450 และ 300 ตัน ตามลำดับ การวิเคราะห์ไฟไนต์อิลิเมนต์ใช้ข้อมูลชั้นดินจากผลเจาะสำรวจของหลุมเจาะ BH-2, BH-1, BH-4 ได้ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักบรรทุกออกแบบกับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเสาเข็มดาล เป็นไปตามสมการเชิงเส้น y= 498.04x-76.547 มีค่า R-Square =0.8259 ซึ่งเป็นที่ยอมรับได้ เพื่อนำไปประมาณน้ำหนักบรรทุกออกแบบเสาเข็มดาลเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดต่างๆ ที่ความยาวคงที่ 13.00 เมตรในการก่อสร้างต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เทิดศักดิ์ เลไธสง และพงศกร พวงชมภู. (2564). การศึกษาค่าสัมประสิทธิ์การต้านแรงกดของดินโดยการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มและการวิเคราะห์เชิงตัวเลข. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น.

สุเชษฐ์ ลิขิตเลอสรวง. (2550). วิธีไฟไนต์อิลิเมนต์ในงานวิศวกรรมธรณีเทคนิค. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุขสันต์ หอพิบูลสุข. (2549). วิศวกรรมฐานราก. เอกสารประกอบการสอนวิชา วิศวกรรมฐานราก

(Foundation engineering). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี : 127-159.

อภิชิต คำภาหล้า. (2548). การทำนายกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มกดสำหรับงานเสริมฐานรากอาคารภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

thmedia. (2011). “Pile Load Test FAIL! Concrete blocks collapse at Gilstead Rd S'pore~!! - 16

Jan2011”. [Onlinet]. Available from: https://www.youtube.com/watch?v=NoY4AA-8Ui4&t=10s. Retrieved April 19, 2023.

ASTM D-1143-81 (Reapproved 1994). Standard test method for piles under static axial compressive load.

Burland, B. and Cooke, W. (1974). “The design of bored piles in stiff clays”. Ground engineering. 7(4) : 29.

Cameron, K. and Ellis, M. (2016). “Federation of Piling Specialists. Handbook on Pile Load Testing FPS”. [Online]. Available : https://www.fps.org.uk/content/uploads/

/12/06-02-27-load-testing-handbook-2006.pdf. Retrieved January 05, 2024.

Davisson, T. (1972). “High capacity piles”. Proceedings, Lecture Series, Innovations in Foundation Construction ASCE, Illinois Section : 52.

Ghiasi, V. and Eskandari, S. (2023). “Comparing a single pile’s axial bearing capacity using numerical modeling and analytical techniques.” Journal of Results in Engineering.

: 100893

Google.com. [Online]. Available from: https://earth.google.com/: (17.812992,102.759076)

Mazurkiewicz, K. (1972). Test loading of piles according to polish regulations. Preliminary report no.35, Commission on Pile Research, Royal Swedish Academy of Engineering Sciences, Stockholm.

Vesic, A. (1977). Design of pile foundations. National Cooperative Highway Research Program, Synthesis of Practice No. 42, Transportation Research Board, National Research council, Washington DC.

Whitaker, T. and Cooke, W. (1966). An investigation of the shaft and base resistance of large bored piles in London clay. Proceedings of Conference on Large Bored Piles, ICE, London:

-49.