การศึกษาการจำลองการตอกเสาเข็มและการจำลองการทดสอบเสาเข็มรับแรงด้านข้าง ด้วยวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์

Main Article Content

sangaroon chaihanam
พงศกร พวงชมภู

บทคัดย่อ

          งานวิจัยนี้ศึกษาการจำลองการตอกเสาเข็ม และทดสอบเสาเข็มด้วยวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์ โดยใช้โปรแกรม Plaxis 2D จากการศึกษาการจำลองการตอกเสาเข็มด้วยวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์  พิจารณาให้แรงในแนวดิ่งในการตอกเสาเข็มเป็นแบบพลศาสตร์ กำหนดค่าตัวคูณความถี่ของการตอกเสาเข็มและคลื่นสั่นสะเทือน สัญญาณฮาร์มอนิกเท่ากับ  2500 แอมปลิจูด เฟส 00 ความถี่เท่ากับ 50 เฮริต์ และการจำลองการทดสอบเสาเข็มในแนวนอนพิจารณาให้แรงเป็นแบบสถิตยศาสตร์ โดย ผลการ จำลองพบว่าที่แรงสูงสุดด้วยวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์เท่ากับ 1.68 ตัน ค่าแรงสูงสุดในภาคสนามเท่ากับ 1.56 ตัน ค่าการเคลื่อนตัวในแนวนอนสูงสุดได้ค่าเท่ากันเท่ากับ 4.00 มิลลิเมตร ค่าสัดส่วนความปลอดภัยจากการจำลองด้วยวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์ ได้เท่ากับ 2.71 มากกว่าค่าสัดส่วนความปลอดภัยจากการทดสอบภาคสนามซึ่งได้เท่ากับ 2.60

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ชลดา กาญจนกุล.(2565). การวิเคราะห์กำลังรับแรงฐานรากเสาเข็มฝังในดินเหนียวด้วยวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์. (ศูนย์วิจัยด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางวิศวกรรมโยธา). มหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย.

สุเชษฐ์ ลิขิตเลอสรวง. (2550). วิธีไฟไนต์อิลิเมนต์ในงานวิศวกรรมธรณีเทคนิค. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรภาพ แก้วสวัสดิวงศ์. (2558). การวิเคราะห์ไฟไนต์อิลิเมนต์สองมิติของเสาเข็มรับแรงด้านข้างในดินเหนียว. (งานวิจัยหลักสูตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Ahmad, D., & Mahmoud, G. (2012). “Response of Tapered Piles under Lateral Harmonic Vibrations”. Int J of Geomate. 2(4); 261-265.

Bentley. (2020). “Plaxis 2D-Reference Manual”. [Online]. Available : http://communities

Bentley .com. Retrieved April 15, 2023.

Broms. (1964a). “Lateral resistance of piles in cohesionless soil”. Journal of soil Mechanics and foundation Division. 90 : 27-63.

Deendayal, R., & Muthukkumaran,T.G. (2016). “Dynamic response of single pile located in soft clay underlay by sand”. International Journal of GEOMATE. 11(26) : 2563-2567.

Designation D 1143-81. (1994). Standard Test Method for Piles Under Static Axial Compressive Load.

Designation D 3966-90. (1995). Standard Test Method for Piles Under Lateral Loads.

Kelvin, L., & Dominic, O. (2018). “THE RESPONSE OF PILES UNDER TENSION LOADS BASED ON ANALYTICAL METHOD AND FINITE ELEMENT ANALYSIS”. International Journal of GEOMATE. 15(52) : 129-136.

Lin, L., & Guowei, S. (2022). “Field test and numerical simulation of A-Frame blade pile system in solar farm,October”. International Journal of GEOMATE.23(98) : 155 – 163.

Wanchai, T., (2017). “Deep basement excavation in soft Bangkok clay closed to palaces.” International Journal of GEOMATE. 12(33) : 85-90.

Xiaomin, L., & Yonggang, X. (2023). “Research on Dynamic Pile Driving Formulars and driving Feasibility of Extra Long PHC Pipe Piles”. Buildings MDPI .13(5) : 1-5.