การออกแบบชุดสุภาพบุรุษแนวสตรีทโดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากรถตุ๊กตุ๊ก product development
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาเรื่องการออกแบบชุดสุภาพบุรุษแนวสตรีทโดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากรถตุ๊กตุ๊ก มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาแรงบันดาลใจจากรถตุ๊กตุ๊ก โดยการนำสีสันของรถตุ๊กตุ๊กที่โดดเด่น ลักษณะและรูปทรงต่างๆของรถตุ๊กตุ๊ก ความกะทัดรัด ความโปร่งโล่งของห้องผู้โดยสาร ไฟของรถตุ๊กตุ๊ก มาใช้เป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบชุดสุภาพบุรุษแนวสตรีท การแต่งตัวแนวสตรีทนี้เป็นการแต่งกายแฟชั่นจากท้องถนนโดยที่ไม่ได้มาจากดีไซน์เนอร์แต่สามารถสวมใส่ได้ในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ยังมันสามารถเป็นตัวบ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคลได้
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาการออกแบบชุดสุภาพบุรุษแนวสตรีทโดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากรถตุ๊กตุ๊ก 1. เพื่อศึกษาการออกแบบชุดสุภาพบุรุษแนวสตรีท โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากรถตุ๊กตุ๊ก 2. เพื่อออกแบบ และสร้างต้นแบบชุดสุภาพบุรุษแนวสตรีทโดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากรถตุ๊กตุ๊ก 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต้นแบบชุดสุภาพบุรุษแนวสตรีทโดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากรถตุ๊กตุ๊ก กรอบแนวคิดในการวิจัยเรื่องการออกแบบชุดสุภาพบุรุษแนวสตรีทโดยได้รับแรงบันดาลใจจากรถตุ๊กตุ๊ก นำเอกลักษณ์ที่โดดเด่นและมีรูปลักษณ์ ทั้งสีสัน รูปทรงลักษณะ ความกะทัดรัด ความโปร่งโล่งของห้องโดยสาร มาออกแบบในครั้งนี้
ผลการผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามพึงพอใจกับการศึกษาโครงการเรื่องการออกแบบชุดสุภาพบุรุษแนวสตรีทโดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากรถตุ๊กตุ๊ก โดยพิจารณา ดังนี้ แบบที่ 1 กางเกงขายาวค่าเฉลี่ย 4.45 พึงพอใจมาก แบบที่ 2 เสื้อแขนยาวค่าเฉลี่ย 4.13 พึงพอใจมาก
Article Details
References
ณัฐสุภา เจริญยิ่งวัฒนา. (2555, กรกฎาคม). “เรื่องการค้นหาและถ่ายทอดแรงบันดาลใจในงานออกแบบแฟชั่น”.
วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 14(1) : 21-31.
ติณณา อุดม และ วุฒิชัย ลิ่มเกิดสุขวงศ์. (2565). “เรื่อง การออกแบบเสื้อผ้าบุรุษ โดยได้รับแรงบันดาลใจจาก
สถาปัตยกรรมเมืองเก่าสงขลา”. วารสารเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลพระนคร. 4(2) : 29-40.
ธรรมธรรศ เลี้ยงธรรมรัตน์. (2562). การพัฒนาและออกแบบเครื่องแต่งกายแฟชั่นจากวงจรชีวิตเครื่องแต่งกาย
แฟชั่นอย่างยั่งยืนด้วยทฤษฎีระบบโมดูลาร์. ปริญญานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บรรณวิทิต จิตชู. (2560). การออกแบบเครื่องตกแต่งกายจากเสื้อผ้ามือสอง แนวคิดสตรีทแฟชั่น
(Street fashion). ศิลปะนิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สุกัญญา จันทกุล, อารยะ ไทยเที่ยง และ ศักรินทร์ หงส์รัตนาวรกิจ. (2557). เรื่อง การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์
และบรรจุภัณฑ์มาลัยผ้า. งานวิจัยได้รับเงินสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2557 คณะเทคโนโลยีคหกรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
สุภาพ ศรีวงษา, จุฬาลักษณ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา, ภูมิมินทร์ โพธิ์คีรี และ อรปรียา ฤทธิโชติ. (2566).
“เรื่องการออกแบบแฟชั่นชุดทำงานสตรีและบุรุษจากผ้าฝ้ายเข็มมือย้อมสีธรรมชาติ”.
วารสารคหกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน. 5(2) : 28-41.
Nattanam. (2020). “โว้กพาย้อนเจาะลึกประวัติที่มาของรถตุ๊กตุ๊กกับเอกลักษณ์ที่ทำไมมันถึงเป็นไทย
หนักหนา.” [online]. Available : https://www.vogue.co.th/fashion/inspirations/article
/tuktukhistory. Retrieved October 23, 2023.
MGR Online. (2015). “ดูชัดๆ “ตุ๊กตุ๊กไทยแลนด์” ชุดประจำชาติ Miss Universe Thailand 2015.” [online].
Available : https://mgronline.com/entertainment/detail/9580000112737.
Retrieved October 8, 2023.
Superfriends. (2021). สไตล์การแต่งตัว ไม่ใช่แค่ดูดี แต่ยังสะท้อนอะไรบางอย่าง.” [online]. Available :
https://www.superfriends.shop/blog/fashion-character/. Retrieved November 11, 2023.
The Street. (2023). “5 วิธีแต่งตัวแนวสตรีทสำหรับผู้ชายเท่ทุกไลฟ์สไตล์ ใส่ได้ไม่มีเบื่อ.” [online]. Available :
https://www. THE STREET.com/Blogs/147/mens-street-fashion. Retrieved October 18,