การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันโมเดลการวัดการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Main Article Content

นุชริน ทองพูล
วิไลลักษณ์ ลังกา
วิชุดา กิจธรธรรม

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์และตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลการวัดการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีตามภาวะสันนิษฐานกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในวิจัยเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 จำนวน 1,000 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบวัดการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์แบบสถานการณ์และแบบสอบถามแบบมาตรประเมินค่า การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพื้นฐานและการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสองผลการวิจัยพบว่า โมเดลการวัดการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ การคิดวิจารณญาณ การตระหนักถึงผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ และการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ ตามภาวะสันนิษฐานมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2 = 146.37, df = 133, χ2/df = 1.10, P-value = 0.202, GFI = 0.988, AGFI = 0.973, SRMR = 0.023, RMSEA = 0.010)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] มูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาชาติไทย. การรู้เท่าทันสื่อ ICT. กรุงเทพฯ: เอเซียแปซิฟิกออฟเซ็ต; 2555.

[2] The latest data for internet, social media, and mobile use around the world in Q3 2017. [Internet]. 2017. [Cited 2017 Oct 12]. Available from: https:// weare social .com

[3] สำนักงานสถิติแห่งชาติ. การสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2559. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติพยากรณ์; 2559

[4] ภาณุวัฒน์ กองราช. การศึกษาพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นในประเทศไทย: กรณีศึกษา Facebook. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต] กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2554.

[5] วันวิสาข์ เจริญนาน. พฤติกรรมการใช้โซเชียลมีเดีย (Social media) ของคนกรุงเทพฯ. [อินเทอร์เน็ต]. 2555. [เข้าถึงเมื่อ 25 ก.ย.2558] เข้าถึงจาก: https://mediamonitor.in. th/archives/534.

[6] Livingstone S, Helsper EJ. Balancing opportunities and risks in teenagers’ use of the internet: the role of online
skills and internet self-efficacy. New media & society; 2010. (12)2: 309-29.

[7] “ไทย” เสี่ยงดูเว็บออนไลน์เถื่อน ลามก-อนาจารเล่นการพนันสูงมาก. ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. 2558 มี.ค. 24; ซีเอสอาร์-เอชอาร์ [อินเทอร์ เน็ต]. 2558. [เข้าถึงเมื่อ 25 ก.ย.2558] เข้าถึงจาก: https://www.prachachat.net/news_ detail.php?newsid=1427176957

[8] Baran SJ. Introduction to mass commu-nication. 3rded. Boston: McGraw Hill; 2004.

[9] Strasburger VC, Wilson BJ, Jordan AB. Children, adolescents, and the media. 2nd ed. CA: Sage; 2009.

[10] จินตนา ตันสุวรรณนนท์. สร้างการรู้เท่าทันสื่อ คือ การพัฒนาคุณภาพสื่อและผู้บริโภคสื่อในสังคมไทยอย่างยั่งยืน. วารสารวิชาการศิลปะศาสตร์ประยุกต์; 2559. 9(2). 89-97.

[11] Aufderheide P. Media literacy: a report of the national leadership conference on media literacy. Maryland: The Aspen Institute. [Internet]. 1992. [Cited 2015 Jun 12]. Available from: https://files. eric.ed. govfulltext/ED365294.pdf.

[12] Silverblatt A. Media literacy: keys to interpreting media message. Westport Connecticut: PRAEGER; 1995.

[13] Tallim J. Resources in media literacy awareness network. What is media literacy?. [Internet]. 2003. [Cited 2015 Jun 1]. Available from: https://media awareness.ca/english/teachers/media_literacy/what_is _media_literacy.cfm

[14] Tallim J. What is media literacy? [Internet]. 2005. [Cited 2015 Jun 12]. Available from: https://www.media-awareness.ca/English/teachers/medialiteracy/what_is_media_ iteracy.cfm.

[15] Thoman E, Jolls T. Literacy for the 21st century: An overview & orientation guide to media literacy education. [Internet]. 2004. [Cited 2015 Jun 12]. Available from: https://www.Medialit.org /sites/default/files/01_MLKorientation. pdf.

[16] Potter WJ. Media literacy. 3rded. Thousand Oaks CA: Sage; 2005.

[17] Wood JT. Communication in our lives. Belmont CA: Wadsworth; 2006.

[18] Hobbs R. Measuring the acquisition of media literacy skills. Reading research quarterly; 2007. 38(3), 330-55.

[19] Bazzalgette C. Resources in EUOPA. Media literacy questionnaire [Internet]. 2007. [Cited 2016 Sep 12]. Available from: https://ec.euopa.eu/avpolicy/media_ literacy/docs/contribution/uk/10_41_bazal_uk.pdf

[20] Center for Media Literacy. Five key questions that can change the world [Internet]. 2011. [Cited 2015 Jun 12]. Available from: https://medialit.org.

[21] เอื้อจิต วิโรจน์ไตรรัตน์. การวิเคราะห์ระดับมีเดียลิตเตอเรซีของนักศึกษาระดับ อุดมศึกษาในประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2540.

[22] อดุลย์ เพียรรุ่งโรจน์. การศึกษาแนวคิดเพื่อกำหนดตัวแปรความรู้เท่าทันสื่อสำหรับการวิจัยสื่อสารมวลชน. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวารสารศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2543.

[23] นภินทร ศิริไทย. ความรู้เรื่องการรู้เท่าทันสื่อเพื่อสุขภาพภูมิคุ้มสุขภาพที่ดีสำหรับเด็กและเยาวชนในการพัฒนาองค์ความรู้การรู้เท่าทันสื่อสุขภาพ สู่หลักสูตรในระบบและนอกระบบการศึกษาของไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ; 2547.

[24] รักจิต มั่นพลศรี. Media Literacy: ศาสตร์แห่งการเปิดรับสื่อด้วยปัญญา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล; 2547. (2): 67-83.

[25] จินตนา ตันสุวรรณนนท์. ผลการฝึกอบรม เพื่อพัฒนาการรู้เท่าทันสื่อของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. [ปริญญานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2550.

[26] พรทิพย์ เย็นจะบก. ถอดรหัส ลับความคิด เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ. กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ทครีเอชั่น; 2552.

[27] Hair JF, Black WC, Babin BJ, Anderson RE. Multivariate data analysis. 7thed. New Jersey: Prentice Hall; 2010.

[28] Stevens J. Applied multivariate statistics for the social science. 2nded. New Jersey: Lawrence Erlbaum; 1992.

[29] Meyers LS, Glenn G, Guarino AJ. Applied multivariate research: design and interpretation. Thousand Oaks; London; New Delhi: Sage; 2006.

[30] Bollen AK. Structural equations with latent variables. New York: A Wiley-Inter science publication; 1989.

[31] สุภารักษ์ จูตระกูล. ครอบครัวกับการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล (Digital literacy) ของดิจิทัลเนทีฟ (Digital natives). วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย; 2559. 11(1): 131-50.

[32] อุลิชษา ครุฑะเสน. แนวทางการพัฒนากระบวน การเรียนรู้เท่าทันสื่อของแกนนำเยาวชน. วารสารวิชาการ Veridian e-journal; 2556. 6(3): 276-85.

[33] เกศราพร บำรุงชาติ. การศึกษาเชิงเปรียบเทียบสาเหตุของการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่มีระดับการคิดอย่างมีวิจารณญาณและระดับการตระหนักรู้ตนเองแตกต่างกัน. [ปริญญานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2550.