การพัฒนาเครื่องตรวจสอบความอ่อนแก่ของมะพร้าวน้ำหอม
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เป็นการนำเสนอการพัฒนาเครื่องตรวจสอบความอ่อนแก่ของมะพร้าวน้ำหอมว่ามีเนื้อในลักษณะใด เพื่อลดการสูญเสียในการตรวจสอบจากวิธีการสังเกต ซึ่งวิธีการนี้เป็นวิธีการตรวจสอบโดยไม่ทำลายโดยใช้คลื่นเสียงอัลทราโซนิก อาศัยหลักการการดูดกลืนและสะท้อนสัญญาณของมะพร้าวน้ำหอมที่มีความอ่อนแก่ที่แตกต่างกัน โดยการนำสัญญาณที่สะท้อนจากมะพร้าวน้ำหอมมาทำการวิเคราะห์ข้อมูลถึงความสัมพันธ์ของระดับสัญญาณที่ได้รับกับลักษณะเนื้อของมะพร้าวน้ำหอม โดยทำการแบ่งช่วงระดับสัญญาณตามความสัมพันธ์กับเนื้อมะพร้าวและนำค่าที่ได้มาแสดงผลว่ามะพร้าวน้ำหอมลูกนั้นมีเนื้อลักษณะใด จากการทดสอบมีความ
ถูกต้อง 70%
Article Details
กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความยินดีที่จะรับบทความจากอาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสาขาต่างๆ ที่มีการบูรณาการข้ามศาสตร์ที่เกี่ยวข้องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพแต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา หรือข้อคิดเห็นใดๆ ของบทความในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
[2] โกสินทร์ จำนงไทย และวุฒิวัฒน์ คงรัตนประเสริฐเครื่องต้นแบบสำหรับตรวจหาความแก่อ่อนของทุเรียนแบบไม่ทำลายด้วยการใช้อุลตร้าโซนิกส์ ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 2545.
[3] ณฐพงศ์ สว่างเมือง และคณะผู้วิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โครงการการพัฒนาวิธีการใช้คลื่นเสียงเพื่อช่วย วิธีการทดสอบแบบไม่ทำ ลายอื่นๆ ในการ ตรวจสอบคุณภาพของมังคุด ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ 2554.
[4] บุร ฉัตร วิริยะ การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดูดซับเสียงของวัสดุพืชแห้งและเส้นใยแก้ว สาขาวิชาวิศวกรรม
สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา 2544.
[5] พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล และคณะ โครงการการตรวจสอบคุณภาพและความบริบูรณ์ของผลมะพร้าวอ่อนแบบไม่ทำลายด้วยเทคนิค NIRs เพื่ออุตสาหกรรมการส่งออก กันยายน พ.ศ.2554.
[6] ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตรกำ แพงแสนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสต ร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
[7] มกอช. 15-2550 มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์.
[8] American National Standard. (1998). Annual Book of ASTM Standards: Sound Absorption and Sound Absorption Coefficients by the Reverberation Room Method: C423-90a. Volume 4.06. New York: Clearance Center.
[9] Miflora M. Gatchalian, Sonia Y. De Leon and Toshimasa Yano. Measurement of young coconut (Cocos nucifera, L)
maturity by sound waves. Journal of Food Engineering. Volume 23, Issue 3, 1994, Page 253-276. Science Direct.
[10] Olivo, C.T. and T.P. Olivo. (1978). Fundamentals of Applied Physics. New York. Delmar Publishers.
[11] Terdwongworakul, A., S. Chaiyapong, B. Jarimopas and W. Meeklangsaen. 2009. Physical properties of fresh young Thai coconut for maturity sorting. Biosystems Engineering. 103(2): 208-216.
[12] Terdwongworakul, A., Jarimopas, B., Chaiyapong, S., Singh, S. P., Singh, J. Determination of physical, acoustical,
mechanical, and chemical properties of fresh young coconut fruit for maturity separation. Journal of Testing and Evaluation Volume 38, Issue 1, January 2010.
[13] Thumann A, Miller RM. (1986). Fundamental of noise control engineering. Georgia: Fairmont Press.
[14] Webb, J.D. (1976). Physics of Sound. In R.I. Woods MIHVE (ed.). Noise Control in Mechanical Service. New York. John Wiley & Sons.