การเพาะเลี้ยงคัพภะกล้วยไม้เอื้องหนวดพราหมณ์ในสภาพปลอดเชื้อ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การเพาะเลี้ยงคัพภะกล้วยไม้เอื้องหนวดพราหมณ์ ที่มีอายุ 3, 4, 5, 6, และ 7 เดือนหลังผสมเกสรในสภาพปลอดเชื้อ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) ทำ 10 ซ้ำ ประกอบด้วยสูตรอาหาร 4 สูตร ดังนี้ สูตรอาหาร MS (MS + sucrose 30 g/l + charcoal 1 g/l) สูตรอาหาร MMS (MS + peptone 2 g/l +
potato juice 100 g/l + sucrose 30 g/l + charcoal 1 g/l) สูตรอาหาร VW (VW + sucrose 20 g/l + charcoal 1 g/l) และสูตรอาหาร MVW (VW + peptone 2 g/l + potato juice 100 g/l + sucrose 20 g/l + charcoal 1 g/l) พบว่าหลังการเพาะเลี้ยง 90 วัน สูตรอาหาร MMS มีผลทำให้คัพภะเอื้องหนวดพราหมณ์เกิดโปรโตคอร์มมากที่สุด
Article Details
กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความยินดีที่จะรับบทความจากอาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสาขาต่างๆ ที่มีการบูรณาการข้ามศาสตร์ที่เกี่ยวข้องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพแต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา หรือข้อคิดเห็นใดๆ ของบทความในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
[2] ชนินทร์ โถรัตน์. กล้วยไม้ไทยความหลากหลาย ที่รอการค้นพบ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์สารคดี; 2542.
[3] รังสฤษดิ์ กาวีต๊ะ. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ: หลักการและ เทคนิค. กรุงเทพฯ: ภาควิชาพืช ไร่นาคณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์; 2540.
[4] สําอางค์ เนตรนารี. กล้วยไม้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์เกษตรสยามบุ๊คส์; 2555.
[5] องค์การสวนพฤกษศาสตร์. กล้วยไม้ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์; 2543.
[6] อบฉันท์ ไทยทอง. กล้วยไม้เมืองไทย. พิมพ์ครั้ง ที่ 12. กรุงเทพฯ: บ้านและสวน; 2549.
[7] ออร์คิดทรอปิคอล.คอม. เอื้องหนวดพราหมณ์. [Internet] [ม.ป.ป. เข้าถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2559]. เข้าถึงได้จาก https://www.orchid tropical.com/seidenfadenia_mitrata.php
[8] อานนท์ เชยจํารูญ. คู่มือการเพาะขยายพันธุ์ กล้วยไม้ตัดดอกเพื่อการส่งออกกล้วยไม้.นนทบุรี: สํานักพิมพ์นิตยสารยิ้มกษตร; 2547.
[9] Arditti, J. Orchid Biology: Reviews and Perspectives. Vol I. Cornell University press, London. 1997.
[10] Arditti, J. and R. Ernst. Micropropagation of Orchid. Second edition published. Singapore: COS Printers Pte Ltd. 2008.
[11] Murashige, T. and Skoog, F..Arevised medium for rapid growth and bioassays with tobacco tissue cultures. Physiol. Plant.15: 473-497. 1962.
[12] Vacin, E. and F. Went. Some pH changes in nutrient solution. Bot. Gaz. 110: 605-613. 1949.