การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ตัวตรวจจับทางอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับระบบแจ้งเตือนเด็กติดค้างในรถยนต์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ได้นำเสนอวิธีการตรวจจับแจ้งเตือนและป้องกันเด็กติดค้างในรถยนต์ในขณะจอดรถโดยผู้วิจัยได้นำเสนอวิธีทีแจ้งเตือนโดยใช้ตัวตรวจจับทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยทำการทดสอบกับการใช้บัตรระบุตัวตน ตัวตรวจจับทางแสงและตัวตรวจจับที่ใช้หลักการตรวจจับคลื่นความร้อน โดยจากการทดลองพบว่าตัวตรวจจับที่ใช้หลักการตรวจคลื่นความร้อนจากสิ่งมีชีวิตเป็นวิธีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
Article Details
กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความยินดีที่จะรับบทความจากอาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสาขาต่างๆ ที่มีการบูรณาการข้ามศาสตร์ที่เกี่ยวข้องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพแต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา หรือข้อคิดเห็นใดๆ ของบทความในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
[2] ยงยุทร วัชรดุลย์. (2522). การวัดทางออร์โธปีดิคส์. กรุงเทพฯ: คณะแพทยศาสตร์ศิริราช
[3] ธวัชชานนท์ สิปปภากุล. (2548). การยศาสตร์และกายวิภาคเชิงกล. กรุงเทพฯ: วาดศิลป์พยาบาล
[4] สำนักโรคไม่ติดต่อ / สำนักสื่อสารความเสี่ยงฯ กรมควบคุมโรค. (2559). กรมควบคุมโรค เผย ข้อมูล 5 ปี พบเด็กถูกลืมในรถถึง 13 ครั้ง เสียชีวิต 6 ราย ทั้งหมดเป็นเด็กอายุ 3-4 ปี. เข้าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน 2560, เข้าถึงได้จาก https://pr.moph.go.th/iprg/include/adminhotnew/show_hotnew.php?idHot_new=82924.
[5] Kidsandcar. (Heat stroke 2017), เข้าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน 2560, เข้าถึงได้จาก https://www.kidsandcars.org/how-kidsget-
hurt/heat-stroke/.
[6] R. Anderson and M. Kuhn. Low cost attacks on tamper resistant devices. In IWSP: International Workshop on Security Protocols, LNCS, 1997.
[7] Vittoria Aiello 1, Parnian Najafi Borazjani 2, Ermanno Battista 3, Massimiliano Albanese, "Next-Generation Technologies for Preventing Accidental Death of Children Trapped in Parked Vehicles", IEEE IRI, San Francisco, California, USA, August 13-15, 2014.
[8] Sumit Garethiya, Himanshu Agrawal, Shilpa Gite, Suresh. V, Amit Kudale, Gaurav Wable, Girishchandra R. Yendargaye, "Affordable System for Alerting, Monitoring and Controlling Heat Stroke inside Vehicles", International Conference on Industrial Instrumentation and Control (IClC), Col/egeo/Engineering Pune, India. May 28-30,2015
[9] M. Susila, R. Soundarya, S. Vennilavu, B.Karthik, "A CHILD-LEFT - BEHIND WARNING SYSTEM IN VEHICLES", International Journal of Advanced Technology in Engineering and Science, Volume No.03, Issue No.03, March 2015.
[10] C.P. Shimpi, N.P. Kadam, N.M. Mali “VEHICLE ACTIVE SAFETY SYSTEM: FOR CHILDREN HYPERTHERMIA IN PARKED VEHICLE” Kadam et al., International Journal of Advanced Engineering Research and Studies July-Sept., 2014
[11] Christian Fischer-University of Wuppetal, Thomas Fischer-Delphi Delco electronics Europe GmbH, Brend Tibken University of Wpuppertal, “The autonomous recognition of left behind passengers in parked vehicle”, April 2011.
[12] Cars-N-Kids. https://carseatmonitor.com.
[13] Juan Pablo Soto, Julio Waissman, Pedro Flores-Pérez, and Gilberto Muñoz- Sandoval “Agents That Help to Avoid Hyperthermia in Young Children Left in a Baby Seat Inside an Enclosed Car” ©Springer International Publishing Switzerland 2014
[14] K. Finkenzeller. RFID Handbook, John Wiley & Sons. 1999.
[15] Jameco electronics. (2017). PIR Sensor (Rev B). เข้าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน, เข้าถึงได้จาก https://www.jameco.com/z/555-28027-Parallax-PIR-Sensor-Rev-B-_2082927.html
[16] ArduinoUnohttps:/arduino.cc/en/Main?arduinoBoradUno.
[17] Sanderson, C.: Armadillo: An open source C++ linear algebra library for fast prototyping and computationally intensive experiments. Technical report, NICTA(2010)