การทดสอบการผลิตพลังงานไฟฟ้าของเทอร์โมอิเล็กทริกโมดูล

Main Article Content

พีรวัจน์ มีสุข
กวินชัย ต้องตรงทรัพย์
ธนวัต ม่วงโคกสูง
อัครวุฒิ มนัสวิยางกูร
กรเทพ โชติวุฑฒากร

บทคัดย่อ

บทความนี้ได้นำเสนอการทดสอบการผลิตพลังงานไฟฟ้าของเทอร์โมอิเล็กทริกโมดูล การทดสอบหาการผลิตแรงดันไฟฟ้าสูงสุดจากผลต่างระหว่างอุณหภูมิด้านร้อนและอุณหภูมิด้านเย็นของเทอร์โมอิเล็กทริกโมดูลทำการเพิ่มจำนวนเทอร์โมอิเล็กทริกโมดูลเพื่อเพิ่มแรงดันไฟฟ้าให้หมาะสมกับการนำไปใช้งาน การทดสอบเทอร์โมอิเล็กทริกกับโหลดความต้านทานเพื่อหาค่ากระแสไฟฟ้าที่เทอร์โมอิเล็กทริกผลิตได้ นำกระแสไฟฟ้า และแรงดันไฟฟ้าไปออกแบบวงจรแปลงผันแรงดันไฟฟ้าที่เหมาะสมกับการนำไปใช้งาน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] กิตติ นิลผึ้ง. (2555). การอัดประจุไฟฟ้าแบตเตอรี่ด้วยเทอร์โมอิเล็กทริกที่ใช้ความร้อนทิ้งจากไอเสีย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์.

[2] เจนศักดิ์ เอกบูรณะวัฒน์. (2548). ตู้เย็นเทอร์โมอิเล็กทริก. การประชุมเชิงวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1.

[3] ฉันทนา พันธุ์เหล็ก. (2557). การออกแบบติดตั้งและทดสอบระบบเทอร์โมอิเล็กทริกผลิตไฟฟ้าด้วยความร้อนทิ้งจากปล่องไอเสียและผนังเตาเผาไหม้ของเครื่องอบแห้งชีวมวล. มหาวิทยาลัยนเรศวร

[4] ชัยธวัช ชูชัย และสรอรรถ ธนูศิลป์. (2555). เครื่องกำ เนิดไฟฟ้าเทอร์โมอิเล็กทริก. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

[5] ณัฐ จันทร์ครบ (2550). ขีดความสามารถที่หวังได้ในการผลิตกำลังไฟฟ้าจากการต่อเพิ่มจำนวนโมดูลเทอร์โมอิเล็กทริก. การประชุมวิชาการทางเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 3.

[6] ทศวรรษ สีตะวัน. (2558). เทคโนโลยีเทอร์โมอิเล็กทริก. ครั้งที่ 1 กรุงเทพมหานคร :สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

[7] ทัศวัลย์ คัมภีระพันธุ์ และวรวิทย์ โกสลาทิพย์. (2552). วัสดุเทอร์โมอิเล็กทริกอีกหนึ่งพลังงานทางเลือกจิ๋วและแจ๋ว. ข่าวสาร
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

[8] ธีรวัฒน์ อุทาพงษ์. (2553). การพัฒนาเครื่องกำเนิดไฟฟ้าชนิดเทอร์โมอิเล็กทริกโดยใช้ความร้อนเหลือทิ้งเกรดต่ำพร้อม
ระบบแลกเปลี่ยนความร้อนด้วยน้ำ .วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

[9] นพพร พัชรประกิต. (2550). ระบบอัดประจุแบตเตอรี่ด้วยพลังงานเทอร์โมอิเล็กทริก. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ล้านนา.