การแก้ปัญหาการจัดเส้นทางขนส่งแบบมีกรอบเวลา โดยวิธีการฮิวริสติกส์: กรณีศึกษาบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เสนอการประยุกต์ใช้วิธีการฮิวริสตกส์สําหรับการจัดเส้นทางการขนส่งชิ้นส่วนยานยนต์ให้กับโรงงานกรณีศึกษา โดยคํานึงถึง จํานวนรถขนส่งที่มีอย่างจํากัด ภายใต้ความต้องการและกรอบเวลาของลูกค้าแต่ละรายที่ไม่เท่ากัน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อหาวิธีฮิวริสติกส์ที่มีความเหมาะสมกับปัญหาของกรณีศึกษา ในการแก้ปัญหา คณะผู้วิจัยได้ทําการทดลองด้วยวิธีการฮิวริสติกส์ 4 วิธีคือ Saving heuristic (SA), NearestHeuristic (NH), Max-Nearest Heuristic (MNH) และ Earliest Due Date (EDD) ได้ผลสรุปจากการเปรียบเทียบการทดลองพบว่าวิธีการฮิวริสติกส์ 4 วิธีสาทารถจัดเส้นทางได้ภายใต้เงื่อนไขที่กําหนด โดยพบว่าวิธี MNH ให้ระยะทางการจัดเส้นทางที่สั้นที่สุดคือ 121.94 กิโลเมตร แต่วิธี EDD มีค่าการขนส่งเกินเวลากําหนดน้อยที่สุดคือ 4 ชั่วโมง 18 นาทีและยังสามารถลดการจ้างรถจากภายนอกลดลง 30.58%
Article Details
กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความยินดีที่จะรับบทความจากอาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสาขาต่างๆ ที่มีการบูรณาการข้ามศาสตร์ที่เกี่ยวข้องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพแต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา หรือข้อคิดเห็นใดๆ ของบทความในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
[2] ปารเมศ ชุติมา. เทคนิคการจัดตารางการดําเนินงาน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2546.
[3] ยศศิริอดุลยศักดิ์. แบบจําลองและขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการจัดเส้นทางการขนส่งแบบเต็มคันยานพาหนะอย่างต่อเนื่อง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.กรุงเทพฯ; 2549.
[4] วิไลวรรณ์แก่นสาร และ สมบัติสินธุเชาน์. การเปรียบเทียบวิธีการฮิวริสติกส์สําหรับระบบการจัดการขยะ. วารสารวิชาการ Thai VCML. ธันวาคม 2556; 6,2.
[5] สาวนลินีอุดมสมบัติมีชัย. การประยุกต์วิธีศึกษาสํานึกสําหรับการจัดเส้นทางยานพาหนะแบบมีกรอบเวลา. วิทยานิพนธ์บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2548.
[6] อนันต์มุ่งวัฒนา และ ธรินีมณีศรี. การเปรียบเทียบขั้นตอนวิธีเมต้าฮิวริสติกสําหรับแก้ปัญหาการจัดเส้นทางเดินรถขนส่งแบบมีกรอบเวลากรณีมีรถขนส่งหลายขนาดและแบ่งแยกส่งสินค้าได้. การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ; ตุลาคม 2555.
[7] Landrieu, A., Mati, Y., and Binder, Z. A Tabu Search Heuristic for the Single Vehicle Pickup and Delivery Problem
with Time Windows. Journal of Intelligent Manufacturing. 2001; 12:497-508.
[8] Nag, B. L. Golden, and A. A. Assad. Vehicle Routing with Site Dependencies. Vehicle Routing: Methods and Studies.
Amsterdam: 1988; 149-159.
[9] Sam, R.T. Vehicle Routing with Time Windows using Genetic Algorithms, submitted to the book on Application
Handbook of Genetic Algorithms. New Frontiers: 1995; 253-277.
[10] Tan K.C., Lee L.H., Zhu Q.L. and Ou K. Heuristic Methods for Vehicle Routing with Time Windows. Artificial Intelligence in Engineering. 2001; 15: 281-295.