การลดความขุ่นและสีของน้ำยาโบรอนที่ใช้ซ้ำในกระบวนการรักษาเนื้อไม้ของอุตสาหกรรมไม้ยางพาราแปรรูปด้วยกระบวนการสร้างและรวมตะกอน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การใช้น้ำยาโบรอนซ้ำในกระบวนการรักษาเนื้อไม้โดยวิธีการอัดน้ำยาด้วยแรงดันของอุตสาหกรรม ม้ยางพาราแปรรูป ทำให้สีของน้ำยาโบรอนเปลี่ยนจากใสเป็นสีน้ำตาลเข้มขึ้นจนถึงสีดำซึ่งขึ้นอยู่กับจำนวนรอบการนำกลับไปใช้ ซึ่งจะส่งผลต่อสีธรรมชาติของไม้ที่ผ่านการอัดน้ำยา งานวิจัยนี้จึงได้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาประสิทธิภาพการลดความขุ่นและสีของน้ำยาโบรอนที่ใช้เป็นน้ำยารักษาเนื้อไม้ด้วยกระบวนการสร้างและรวมตะกอน ปัจจัยที่ทำการศึกษาได้แก่ ชนิดและปริมาณโคแอกกูแลนต์ และค่าพีเอชชองน้ำยาโบรอน ผลการศึกษาพบว่าการลดความขุ่นและสีเกิดขึ้นได้ดีสุดที่พีเอชเริ่มต้นของน้ำยาโบรอนเท่ากับ 8 เมื่อใช้ปริมาณสารส้ม (Alum) เฟอร์ริคคลอไรด์ (FeCl3) และโพลีอะลูมิเนียมคลอไรด์ (PAC) ที่ 4.7, 1.7 และ 3.3 กรัมต่อลิตร ตามลำดับ ที่ภาวะดังกล่าว ประสิทธิภาพในการกำจัดความขุ่นสามารถเรียงลำดับได้ดังนี้คือ PAC (95.6%) > FeCl3 (92.1%) > Alum (87.4%) ในขณะที่ประสิทธิภาพในการกำจัดสีมีค่าเป็นดังนี้คือ FeCl3 (97.8%) > PAC (96.7%) > Alum (96.1%) ผลจากการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการเลือกโคแอกกูแลนต์เพื่อใช้ในการกำจัดความขุ่นและสีของน้ำยาโบรอนเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ในกระบวนการรักษาเนื้อไม้
Article Details
กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความยินดีที่จะรับบทความจากอาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสาขาต่างๆ ที่มีการบูรณาการข้ามศาสตร์ที่เกี่ยวข้องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพแต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา หรือข้อคิดเห็นใดๆ ของบทความในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
[2] ธีระ วีณิน. การคำนวณปริมาณรับน้ำยาในการอัดน้ำยาไม้ยางพารา. ใน: พสุธา สุนทรห้าว, บรรณาธิการ. 8 ทศวรรษ วนศาสตร์ศาสตร์แห่งชีวิต [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ : ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; 2559 [เข้าถึงเมื่อ 17 พ.ย. 2561]. น. 52-3. จาก: https://kukr.lib.ku.ac.th/db/index.php?/BKN_FOR/search_detail/result/352428
[3] ธีระ วีณิน. การอาบน้ำยาไม้ยางพาราตามกรรมวิธีจุ่มแล้วหมักด้วยสารประกอบโบรอนเพื่อป้องกันการเข้าทำลายของมอด. วารสารวนศาสตร์. 2535; 11:60-5.
[4] น้ำยารักษาเนื้อไม้. วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ. [อินเทอร์เน็ต]. 2530 [เข้าถึงเมื่อ พ.ย. 2561]; 114:13-7. จาก: https://lib3.dss.go.th/fulltext/dss_j/2530_114_p1317.pdf
[5] บริษัท เฟล็กซี่แพลน ดีไซด์. การอัดน้ำยาไม้. บ้านเนทูร่า [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ; 2550. [เข้าถึงเมื่อ 12 พ.ย. 2561]. จาก: https://www.baannatura.com/th/mat/content/detail/109.html
[6] Freeman MH, McIntyre CR, Jackson D. A critical and comprehensive review of boron in wood preservation. 105th Annual Meeting of the American Wood Protection Association. [Internet]. American Wood Protection Association; 2009 April 19-21; Texas, USA. Alabama; 2009 [cited 2018 Nov 12]. p. 279-94. Available from: https://nisuscorp.com/images/uploads/documents-other/AWPA-Freeman-Boron-Paper-08.pdf
[7] Obanda DN, Shupe TF, Barnes HM. Reducing leaching of boron-based wood preservatives- a review of research. Bioresource Technol. 2008; 99:7312-22.
[8] Salamah S, Mohd Dahlan J. Vacuum-pressure treatment of rubber wood (Hevea brasiliensis) using boron-based preservative. J Trop For Sci. 2008; 20:1-7.
[9] Temiza A, Alfredsenb G, Eikenesb M, et al. Decay resistance of wood treated with boric acid and tall oil derivates. Bioresource Technol. 2008; 99:2102-6.
[10] Yongdong Z, Mingliang J, Ruiqing G, et al. Rubber wood processing manual: Demonstration of rubber wood processing technology and promotion of sustainable development in China and other Asian countries [Internet]. Beijing: Chinese Academy of Forestry; 2007 [cited 2018 Nov 13]. Available from: https://www.itto.int/files/itto_project_db_input/2392/Technical/Rubberwoo%20Processing%20Manual(English).pdf
[11] จรรยา อินทมณี, จันทิมา ชั่งสิริพร, จรัญ บุญกาญจน์. การนำกลับมาใช้ใหม่ของน้ำยาโบรอนในกระบวนการอัดเนื้อไม้ยางพารา. การประชุมวิชาการนานาชาติวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 21; 10-11 พ.ย. 2554; หอประชุมนานาชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา; 2554.
[12] Baghavan A, Zand AD, Mehrdadi N, et al. Optimizing coagulation process for low to high turbidity waters using aluminum and iron salts. American J Environ Sci. 2010; 6:442-8.
[13] อนุรักษ์ ปิติรักษ์สกุล, แสงนวล ศรีรัตน์ชัชวาลย์ และคณะ. ประสิทธิภาพการกำจัดอนุภาคของแข็งโดยใช้เครื่องลอยตะกอนชนิดอากาศละลายแบบกะ. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 2544; 11:40-8.
[14] Saeid F, Bahador N, Abdalmajid F, et al. Removal of natural organic matter (NOM), tubidity and color of surface water by integration of enhanced coagulation process and direct filtration. J Adv Environ Health Res. 2017; 5:108-113.
[15] Sillanpaa M, Matilainen A. Chapter 3-NOM Removal by Coagulation, In: Sillanpaa M, Natural organic matter in water: Characterization and treatment methods. Oxford, UK: Butterworth-Heinemann; 2015. p.55-80.
[16] Aktas TS, Takeda F, Maruo C. et al. Comparison of four kinds of coagulants for the removal of picophytoplankton. Desalination Water Treat. 2013; 51:3547-57.
[17] ปวีณา วังชัง, ปิยดา จินศิริ, มูนาดา สลามเต๊ะ. การบำบัดน้ำยาโบรอนที่เสื่อมสภาพด้วยกระบวนการสร้างและรวมตะกอน [โครงงานพิเศษปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง; 2556.
[18] American Public Health Association, Water Environment Federation, American Water Works Association. Standard methods for the examination of water and wastewater. 21st ed. Washington, D.C.: APHA-AWWA-WEF; 2005.
[19] พันธกานต์ ยันต์ฉิมพลี. การบำบัดสีของน้ำยาโบรอนที่ใช้ซ้ำในอุตสาหกรรมแปรรูปไม้ยางพาราด้วยกระบวนการโอโซเนชัน [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง; 2558.
[20] Carrier X, Marceau E, Lambert J-F, et al. Transformations of gamma-alumina in aqueous suspensions: 1. Alumina chemical weathering studied as a function of pH. J Colloid Interface Sci. 2007; 308:429-37.
[21] Khemis M, Leclerc J-P, Tanguy G, et al. Treatment of industrial liquid wastes by electrocoagulation: Experimental investigations and an overall interpretation model. Chem Eng Sci. 2006; 61:3602-9.
[22] สมพงษ์ หิรัญมาศสุวรรณ. กระบวนการโคแอกกูเลชั่นด้วยไฟฟ้า. วารสารเทคนิค เครื่องกล ไฟฟ้า อุตสาหการ. 2551; 283:138-44.
[23] วนิดา ชูอักษร. เทคโนโลยีการกำจัดสีในน้ำเสียอุตสาหกรรม. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. 2555; 17:181-91.
[24] Mesdaghinia A, Rafiee M, Vaezi F, et al. Control of disinfection by products formation potential by enhanced coagulation. Int J Environ Sci Technol. 2006; 2:335-42.
[25] Tezcan UU, Koparal AS, Bakir Ogutveren U, Electrocoagulation of vegetable oil refinery wastewater using aluminum electrodes. J Environ Manage. 2009; 90: 428-33.
[26] Reynolds TD. Unit operations and processes in environmental engineering. 2nd ed. Massachusetts: PWS publishers; 1982.
[27] Karakas ZK, Yilmaz MT, Boncukcuglu R, et al. The effect of the pH of the solution in the boron removal using polyaluminium chloride (PAC) coagulant with chemical coagulation method. In: Ozdemir C, Şahinkaya S, Kalıpcı E, et al., editors. ICOEST'2013 – Cappadocia. [Digital Proceeding]. The International Conference on Environmental Science and Technology; 2013 June 18-21; Nevsehir, Turkey; 2013. p.340-6.