การควบคุมความเร็วบนท้องถนนโดยใช้เนินชะลอความเร็ว
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้เกี่ยวข้องกับเรื่องการควบคุมความเร็วบนท้องถนนโดยใช้เนินชะลอความเร็ว (Speed Hump) เพื่อทำให้ผู้ที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้สามารถรู้ว่าเนินชะลอนั้นช่วยควบคุมความเร็วของยานพาหนะได้อย่างไร และมีหลักเกณฑ์อะไรที่ใช้ในการออกแบบ รวมทั้งปัญหาต่างๆที่จะเกิดขึ้นเมื่อเราใช้เนินชะลอความเร็วในสถานที่จริง การศึกษาทางด้านวิศวกรรมการจราจรเพื่อตัดสินใจว่าจำเป็นต้องมีเนินชะลอความเร็วหรือไม่ การศึกษาเหล่านี้คำนึงถึงระยะไกลที่ปลอดภัยในการติดตั้ง การศึกษาคนเดินทางเท้า การจำแนกยานพาหนะ การนับปริมาณจราจรและความเร็วเฉลี่ยในบริเวณพื้นที่ที่จะทำการติดตั้ง จากการศึกษารวบรวมข้อมูลเรื่องการควบคุมความเร็วบนท้องถนนโดยใช้เนินชะลอความเร็วพบว่า การติดตั้งเนินชะลอความเร็วควรติดตั้งตามหลักการออกแบบ โดยเนินชะลอความเร็วควรมีความยาวเท่ากับ 4 เมตร (12 ฟุต) และความสูง 8-10 เซนติเมตร (3-4 นิ้ว) รวมทั้งควรมีสัญญาณเตือนตามแบบ Manual on Uniform Traffic Control Devices (MUTCD) คือมีการทาสีตามแบบที่ผู้ขับขี่สามารถมองเห็นได้และปลอดภัยในการมองระยะไกล ถ้าการออกแบบติดตั้งและรักษาอย่างดี เนินชะลอความเร็วจะเป็นวิธีที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในการลดความเร็วของยานพาหนะในพื้นที่ได้
Article Details
กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความยินดีที่จะรับบทความจากอาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสาขาต่างๆ ที่มีการบูรณาการข้ามศาสตร์ที่เกี่ยวข้องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพแต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา หรือข้อคิดเห็นใดๆ ของบทความในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
[2] สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2548). เอกสารประกอบ การอบรม การแก้ไขจุดเสี่ยงอันตราย. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
[3] สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร(สนข.) กระทรวงคมนาคม. (2547). คู่มือการใช้เครื่องหมายจราจรบริเวณทางคนข้ามถนนย่านชุมชนเมือง ภาคที่ 2 เล่มที่ 6.
[4] Austroad. (2008) Guide to road safety part 3 Speed limits and Speed management.
[5] Clement, John. (1983). Speed Humps and the Thousand Oaks Experience. ITE Journal, January, 35–39.
[6] Iowa Department of Transportation. (1999). 1999–2000 Iowa Transportation Map. Iowa Department of Transportation, Ames, Iowa.
[7] ITE Traffic Engineering Council Speed Humps Task Force. (1997). Guidelines for the Design and Application for Speed Humps. Institute of Transportation Engineers, Washington, D.C.
[8] Marek, John C., and Shauna Walgren. (1998). Mid-Block Speed Control: Chicanes and Speed Humps. Compendium of Papers for the 68th Annual Meeting of Institute for Transportation Engineers. Institute of Transportation Engineers, Toronto, Canada.
[9] Ripley, Doug, and Marcia Klingaman. (1998). City of Iowa City Memorandum: Teg Drive Traffic Calming Evaluation. Iowa City, Iowa.
[10] Schlabbach, Klaus. (1997). Traffic Calming in Europe. ITE Journal, Vol. 67, July, 38–40.