การเปรียบเทียบวิธีการหาค่าเหมาะที่สุด ด้วยโซลเวอร์ของโปรแกรม ไมโครซอฟท์เอกเซล 2007 และ 2019

Main Article Content

วฐา มินเสน
ปรารถนา มินเสน

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบวิธีการหาค่าเหมาะที่สุดในฟังก์ชันเกณฑ์เปรียบเทียบสมรรถนะ 13 ฟังก์ชัน ด้วยโซลเวอร์ วิธีนิวตัน-ราฟสัน (NR) และเกรเดียนต์สังยุค (CG) ของโปรแกรมไมโครซอฟท์เอกเซล 2007 และ วิธีเกรเดียนต์ลดรูปแบบวางนัยทั่วไป (GRG) และเชิงวิวัฒน์ (EV) ของโปรแกรมไมโครซอฟท์เอกเซล 2019 จากเกณฑ์การตัดสินใจ 4 วิธี คือ 1. อัตราความสำเร็จมากที่สุด (gif.latex?SR max) 2. ความคาดเคลื่อนสัมบูรณ์เฉลี่ยต่ำที่สุด (gif.latex?MAEmin ) 3. อัตราความสำเร็จมากที่สุดและความคาดเคลื่อนสัมบูรณ์ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ำที่สุด  (gif.latex?SRmax และgif.latex?SAEmin ) และ 4. เวลาเฉลี่ยต่ำที่สุด (gif.latex?ATmin ) เป็นตัวกำหนดวิธีการค้นหาคำตอบที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยในแต่ละสถานการณ์มีจำนวนครั้งการทำซ้ำ 100 รอบ ผลการวิจัยพบว่า เกณฑ์การตัดสินใจลำดับที่ 1. ถึง 3. วิธี EV เป็นวิธีการหาคำตอบที่ดีที่สุด ส่วนเกณฑ์ที่ 4. วิธี NR ใช้เวลาในการหาคำตอบได้เร็วที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] Deuflhard P. A short history of newton’s method. Documenta Mathematica. 2012; Suppl ISMP: 25-30.

[2] เดชาชัย งามประเสริฐ. โหลดโฟลว์อัลกอริทึมด้วยวิธีนิวตันราฟสันร่วมกับแบบจำลองของโหลดชนิดดัชนีแรงดันไม่เป็นเชิงเส้น [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. ปทุมธานี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2551.

[3] Hestenes M, Stiefel E. Methods of conjugate gradients for solving linear systems. J Res Nat Bur Stand. 1952; 49(6): 409-436.

[4] ไพชยนต์ สิริเสถียรวัฒนา. กระบวนการค้นหาตามเส้นในทิศทางกึ่งนิวตันและเกรเดียนท์สังยุค [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี; 2545.

[5] Wilde DJ, Beightler CS. Foundations of optimization. 2nd ed. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall; 1967.

[6] Abadie J, Carpenter J. Generalization of the Wolfe reduced gradient method to the case of nonlinear constraints. In: Fletcher R, editors. Optimization. New York: Academic Press; 1969; 37-47.

[7] Lasdon LS, Waren AD, Jain A, et al. Design and testing of a generalized reduced gradient code for nonlinear programming, Acm T Math Software. 1978; 4(1): 34-50.

[8] Lasdon LS. Nonlinear programming algorithms applications, software, and comparisons, Numerical Optimization [Internet]. SIAM Conference on Numerical Optimization 1984. 1984 June 12-14; Colorado, USA. 1984 [cited 2019 June 19]. p. 41-70. Available form: http://goo.gl/iDCpnW.

[9] Fylstra D, Lasdon L, Watson J, et al. Design and use of the Microsoft Excel Solver, Interfaces. 1998; 28(5): 29-55.

[10] วฐา มินเสน. การประมาณค่าดัชนีฤดูกาลในวิธีแยกส่วนประกอบด้วย GRG2. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2557; Suppl: 243-249.

[11] Jong DK, Fogel DB, Schwefel HP. A history of evolutionary computation. In: Bäck TH, Fogel DB, Michalewicz Z, editors. Handbook of Evolutionary Computation. IOP Publishing Ltd and Oxford University Press 1997; 1997.

[12] อรนิช ไตรศักดิ์. การศึกษาการหารูปร่างที่เหมาะสมที่สุดของแพนอากาศด้วยวิธีวิวัฒนาการ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี; 2559.

[13] Surjanovic S, Bingham D [Internet]. Virtual library of simulation experiments: test functions and datasets; 2017. [cited 2019 June 19]. Available form: https://www.sfu.ca/~ssurjano/optimization.html.

[14] Global Optimization Benchmarks and AMPGO [Internet]. Test functions index; 2019. [cited 2019 June 19]. Available form: http://infinity77.net/global_ optimization/test_functions.html#test-functions-index.

[15] BenchmarkFcns [Internet]. All Functions; 2019 [cited 2019 June 19]. Available form: http://benchmarkfcns.xyz/fcns.

[16] อัฌชานนท์ ทัศนานุพรม, วฐา มินเสน และ กุณฑลี ไชยสี. การพยากรณ์ด้วยเทคนิคการปรับให้เรียบโดยใช้การประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยโซลเวอร์ในโปรแกรมไมโครซอฟท์เอกเซล 2007 และ 2016. ใน: วฐา มินเสน, ภัทรินี ไตรสถิต, มานะชัย รอดชื่น และ คณะ, บรรณาธิการ. การประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีสาขาสถิติ ระดับชาติประจำปี 2562; 14 พฤษภาคม 2562; ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2562. หน้า 205 – 215.