การขนส่งสินค้าภายในเมืองโดยการขนส่งทางถนนร่วมกับระบบรถไฟฟ้ารางเบา
Main Article Content
บทคัดย่อ
ปัจจุบันวิธีการขนส่งพัสดุภายในเมืองใช้การขนส่งทางถนน ซึ่งมีต้นทุนการขนส่งที่สูง งานวิจัยนี้จึงเสนอแนวทางการขนส่งพัสดุภายในเมืองในรูปแบบใหม่ซึ่งใช้การขนส่งด้วยระบบรถไฟฟ้ารางเบาร่วมกับการขนส่งบนท้องถนน โดยใช้การขนส่งด้วยระบบรถไฟฟ้ารางเบาในช่วงเส้นทางที่มีรถไฟฟ้ารางเบาวิ่งผ่านแทนการขนส่งในรูปแบบปัจจุบันซึ่งใช้การขนส่งทางถนนเท่านั้น โดยงานวิจัยนี้ได้เสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้ตัวแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อเลือกทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมในการจัดตั้งจุดบริการรับส่งพัสดุบนสถานีรถไฟฟ้าทั้ง 3 ระบบ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเพื่อให้ต้นทุนในการขนส่งต่ำที่สุด โดยใช้โปรแกรม Lingo ในการประมวลผลหาคำตอบของแบบจำลองโปรแกรมเชิงเส้นจำนวนเต็มแบบผสม (Mixed-integer linear programming; MILP) ด้วยวิธี Branch-and-bound ผลจากศึกษาพบว่า เมื่อเปรียบเทียบจากกรณีศึกษารูปแบบการขนส่งแบบการใช้รถไฟฟ้ารางเบาร่วมกับการขนส่งบนท้องถนนที่นำเสนอมีต้นทุนที่ต่ำกว่าการขนส่งในรูปแบบปัจจุบันถึง 61.25% และยังช่วยลดปัญหามลพิษด้านสิ่งแวดล้อมอีกด้วย
Article Details
กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความยินดีที่จะรับบทความจากอาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสาขาต่างๆ ที่มีการบูรณาการข้ามศาสตร์ที่เกี่ยวข้องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพแต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา หรือข้อคิดเห็นใดๆ ของบทความในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
INRIX Global Traffic Scorecard. [Internet]. Boston; 2019 [cited 2019 Sep 7]. Available from: https://thestandard.co/inrix-global-traffic-scorecard-2017.
Behrends S. Urban freight transport sustainability -The interaction of urban freight and intermodal transport. Chalmers University of Technology Gothenburg. 2011; 3(2):11-8.
Ford H, Smith R, Harris N. Environmentally driven challenges. The Railways - Challenges to Science and Technology. Proceedings of the 5th a Conference held the Royal Society; 1995 Apr 20-22; Sheffield, Sheffield: Academic Press; 1995.
Robinson M, Mortimer P. Urban freight and rail the state of the art logistics & transport focus. Journal of The Chartered Institute of Logistics and Transport (UK). 2004; 10(2):46–51.
Goldman T, Gorham R. Sustainable urban transport four innovative directions. Journal Technology in society. 2006; 5(28):261–73.
Snyder L. Facility Location under Uncertainty. Journal IIE Transactions. 2006; 10(38):537-54.
จันทร์ศิริ สิงห์เถื่อน. การเลือกตำแหน่งที่ตั้งของสถานที่ให้บริการด้วยวิธีการหาคำตอบที่ดีที่สุด. วารสารวิศวกรรมสาร มก. 2554; 74(24):107-22.
ReVell CS, Eiselt HA. Location analysis: A synthesis and survey. Eur J Oper Res. 2005; 15(165):1-19.
Ballou RH. Dynamic Warehouse Location Analysis. J Market Res. 1968; 52(5):271-76.
Marufuzzaman M, Gedik R, Roni MS. A Benders based rolling horizon algorithm for a dynamic facility location problem. Journal Computers and Industrial Engineering. 2016; 4(98):462– 9.
Wu YM, Hsiao NC, Teng TL, et al. Near real-time seismic damage assessment of the rapid reporting system. Journal of Terrestrial, Atmospheric and Oceanic sciences. 2002;8(13):313-24.
ปรุฬห์ มะยะเฉี่ยว. การแก้ปัญหาการเลือกสถานที่ตั้ง. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 2557;6(1):132-45.
ปรางประเสริฐ น้อยสังข์, ชุมพล มณฑาทิพย์กุล. การเลือกทำเลที่ตั้งศูนย์กระจายสินค้าภูมิภาคในประเทศไทย โดยการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงปริมาณร่วมกับปัจจัยเชิงคุณภาพด้วยฟังก์ชันหลายวัตถุประสงค์. วารสารไทยการวิจัยดำเนินงาน. 2560; 5(1):60-70.
Motraghi A, Marinov MV. Analysis of urban freight by rail using event based simulation. Journal Simulation Modelling Practice and Theory. 2012; 5(25):73–89.
คงเดช ทรงแสง. โครงสร้างประเภทต้นทุนค่าขนส่งสินค้าโดยการขนส่งสินค้าทางท้องถนน [อินเตอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร; 2551 [เข้าถึงเมื่อ 15 กันยายน 2562]. จาก: http://logisticscorner.com
บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด(มหาชน). ระบบโครงสร้างทางวิ่งและสถานี [อินเตอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร; 2551 [เข้าถึงเมื่อ 3 ตุลาคม 2562]. จาก: https://www.bts.co.th/library/system-structuer.html.
บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพจำกัด (มหาชน) [อินเตอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร; 2551 [เข้าถึงเมื่อ 5 ตุลาคม 2562]. จาก: https://metro.bemplc.co.th/MRT-System-Map.
บริษัท ฟาล์คอน อินเตอร์. อัตราการสิ้นเปลื้องของการใช้เชื้อเพลิงของรถประเภทต่างๆ [อินเตอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร; 2551 [เข้าถึงเมื่อ 2 ตุลาคม 2562]. จาก: https://thai.falcongo.co.th/blogs/news/cost-of-transport-in-thailand-car-vs-motorbike-vs-e-scooter.