จลนพลศาสตร์และกลไกการดูดซับสีย้อมเมทิลีนบูลโดยเกล็ดไคโตซาน

Main Article Content

ชัชลิฎา บุญพะเนียด
หญิง อามาน
มัลลิกา โรจน์คงทรัพย์
โกวิทย์ ปิยะมังคลา

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ศึกษาการดูดซับสีย้อมเมทิลีนบลูโดยเกล็ดไคโตซานเป็นตัวดูดซับโดยทำการทดลองแบบแบตซ์ ผลการศึกษาความเข้มข้นเริ่มต้นของสีย้อมเมทิลีนบลูในช่วง 24.4 - 110.2 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า เกล็ดไคโตซานมีความสามารถในการดูดซับสีย้อมเมทิลีนบลูเท่ากับ 18.4 - 48.4 มิลลิกรัมต่อกรัม ตามลำดับ แบบจำลองทางจลนพลศาสตร์มีการอธิบายโดยใช้สมการ Pseudo-first order และ Pseudo - second order พบว่าการดูดซับสีย้อมเมทิลีนบลูสอดคล้องกับ Pseudo-second order กลไกการดูดซับเกิดขึ้น 2 ขั้นตอน และการแพร่ที่ผิวเป็นขั้นตอนการจำกัดอัตราเร็วของการดูดซับ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

โรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม (สะสม) ณ เดือนมกราคม-มีนาคม 2564 สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ[อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ. [ปรับปรุงเมื่อ 13 พฤษภาคม 2564; เข้าถึงเมื่อ 21 พฤษภาคม 2564].จาก:https://www.thaitextile.org/th/insign/detail.2393.1.0.html

ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณ. การดูดซับสีในน้ำเสียจากโรงงานฟอกย้อมผ้าด้วยตะกอนจุลินทรีย์. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี). 2552;1(1):7-25.

พลาธิป แซ่อุ่ย, ตระการ กองแก้ว, ธันวา วงศ์สุข และคณะ. การดูดซับสีเมทิลีนบลูด้วยซีโอไลต์สังเคราะห์ Na-A และ ซีโอไลต์มาตรฐาน 4A. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์. 2562;18(2):51-63.

ขนิษฐา หทัยสมิทธ์, สมบัติ ทีฆทรัพย์, จักรพงษ์ แก้วขาว และคณะ.การยุกต์ใช้ร่างไทเทเนียมไดออกไซด์เคลือบบนถ่านกัมมันต์เพื่อบำบัดน้ำเสียจากอุตสาหกรรมสิ่งทอ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับบวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2560;11(1):87-100.

พัชรนันท์ จันทร์พลอย, กฤติยาภรณ์ หลวงดี, นภารัตน์ จิวาลักษณ์. การดูดซับสีย้อมเมทิลีนบลูของถ่านเปลือกส้มโอที่เตรียมจากการเผาแบบเตาลาน. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร. 2563;14(1):15-25.

ประกายเพรช ปานแก้ว, ภาสวิชญ์ ทรงจิตสมบูรณ์, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพและความเป็นพิษของถ่านกัมมันต์และเปลือกไข่ในการกำจัดสีย้อมเมทิลีนบลู. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์. 2562;18(2):39-50.

สุนิสา สว่าง, จารุวรรณ ตาฬวัฒน์, โกวิทย์ ปิยะมังคลา. การดูดซับกรดฮิวมิคโดยไคโตซาน-ซิลิกาเรซิน:สมดุลและการออกแบบ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. 2561;6(1):29-43.

ชัชญาภาเกตุวงศ์, พรพิมลพลค้า, สมสุขไตรศุภกิตติและคณะ. การดูดซับไอออนของเหล็กในน้ำก่อนเข้าสู่กระบวนการผลิตน้ำประปาด้วยไคโตซานจากกระดองปูนา. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2560;12(3):1-14.

ชัชญาภาเกตุวงศ์, ภานุวัฒน์เกตุวงศ์, รัตติยาภรณ์ไปนา และคณะ. การดูดซับทองแดง (II) ในน้ำเสียด้วยไคโตซานที่สกัดจากเปลือกปูม้า. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. 2562;3(2):71-82.

ศิริวารินทร์ โตใหญ่, เกตุวดี วิไลพรเจริญ, ยิ่งพิศ พรพัฒนกุล และคณะ. จลนศาสตร์ กลไกและเทอร์โมไดนามิกส์การดูดซับโครเมียม (VI) จากน้ำเสียโรงงานชุบโลหะโดยใช้ไคโตซาน. วารสารวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2555; 19(1):28-39.

เกตุนารินทร์ ปั้นเพ็ง, ธีระชัย ธนานันต์, ศรีสุดา ปัณณานุสรณ์ และคณะ. การดูดซับสีย้อมเอโซโดยผงลิ้นทะเล. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2561;7(2):169-80.

หญิง อามาน,มัลลิกา โรจน์คงทรัพย์, โกวิทย์ ปิยะมังคลา. การดูดซับสีย้อมเมทิลีนบลูโดยเกล็ดไคโตซาน: สมดุลและการประยุกต์ใช้สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 2561;28(4):825-35.

ฐิติกร พรหมบรรจง, ธนากรณ์ ดำสุด, เขมมิการ์ โขมพัตร และคณะ. การสลายสีย้อมเมทิลีนบลูของเม็ดบีทที่ตรึงสารสกัดหยาบใบรางจืด. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 2562;5(2):48-59.

ชาญชัย คหาปนะ, ณภัทร โพธิ์วัน. การศึกษาประสิทธิภาพดูดซับสีย้อมเมทิลีนโดยวัสดุดูดซับที่เตรียมจากผักตบชวา. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 2563;15(2):58-70.

จักรกฤษณ์ อัมพุช. การดัดแปรแร่ดินมอนต์มอริลโลไนต์เพื่อการกำจัดสีย้อมจากน้ำเสีย. วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. 2555;5(1):56-66.

พิชญ์สินี สมชัยดี, การะเกด เทศศรี. การสังเคราะห์อนุภาคนาโนเหล็กเชิงประกอบสารสกัดเปลือกมังคุดโดยวิธีสะอาดเพื่อใช้ในการกำจัดสีย้อมเมทิลีนบลูในสารละลายน้ำ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2561;27(5):777-91.

จักรกฤษณ์ อัมพุช, ฐิตาพร คำภู, นันทกานต์ ทองเฟื่อง และคณะ. การดูดซับสีย้อมรีแอ็คทีพแบล็ค 5 บนถ่านกัมมันต์ที่เตรียมจากผักตบชวา. วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. 2560;19(1):163-77.

ยุวรัตน์ เงินเย็น, ฉันทกร ปาทวาท, เกศรา ศิลาเกษ และคณะ. การดูดซับสีย้อมเมทิลีนบลูจากสารละลายโดยถ่านกัมมันต์ที่เตรียมได้จากลูกยางนา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี. 2563;8(2):119-31.

สิรินันท์ วิริยะสุนทร. การเตรียมนาโนคอมพอสิตของแป้งแคทไอออนิกและมอนต์มอริลโลไนต์สำหรับการดูดซับสีย้อมเมทิลีนบลู. วารสาร มทร. อีสาน. 2562;12(1):158-71.

ศุภกิจ แซ่เจียม, กัณฑรีย์ศรีพงศ์พันธ. กระบวนการดูดซับสีรีแอคทีฟ เรด 31 จากน้ำเสียสังเคราะห์ด้วยเปลือกกล้วย.Veridian E-Journal Science and Technology Silpakorn University. 2560;4(6):69-87.

ศรีสุดา นิเทศน์ธรรม, อัจฉราบุญมาหล้า, อรวรรณ ชัยสิทธิ์. การเตรียมถ่านกัมมันต์จากของเสียประเภทโฟมพอลิยูรีเทนโดยการกระตุ้นทางเคมีด้วยโพแทสเซียมคาร์บอเนต สำหรับการดูดซับสีย้อม. วารสารวิชาการ มทร. สุวรรณภูมิ. 2558;3(1):8-18.

จักรกฤษณ์ อังพุช, บุญส่ง จุฑารัตน์. พฤติกรรมการดูดซับสีย้อมรีแอ็กทีพแบล็ค 5 บนถ่านกัมมันต์ที่เตรียมจากชานอ้อย. วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. 2555;5(2):10-21.

รวินทร์ สุทธะนันท์, โกวิทย์ ปิยะมังคลา. จลนศาสตร์และเทอร์โมเคมีการดูดซับเมทิลีนบลูโดยใช้แกลบดัดแปร. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 2554;21(2):337-348.

อุษณีย์ รักษ์ไชยวรรณ, ยุพดี กูลรัตน์กิติวงศ์ โกวิทย์ ปิยะมังคลา. การดูดซับไอออนเงินโดยไคโตซานเรซิน: ผลของอุณหภูมิ. วิศวสารลาดกระบัง. 2558;32(4):61-66.

อุษณีย์ รักษ์ไชยวรรณ, ยุพดี กูลรัตน์กิติวงศ์,โกวิทย์ ปิยะมังคลา. สมดุลและจลนศาสตร์การดูดซับไอออนเงินโดยไคโตซานผสมพอลิไวนิลแอลกฮอล์เรซิน. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 2557;9(2):12-22.