อัลกอริทึมของ Dijkstra สำหรับการแก้ปัญหาเส้นทางที่สั้นที่สุดบนเครือข่ายภายใต้ตัวเลขฟัซซี่สี่เหลี่ยมคางหมู
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาวิธีการแก้ปัญหาระยะทางที่สั้นที่สุดแบบตัวเลขฟัซซี่สี่เหลี่ยมคางหมู เมื่อค่าใช้จ่ายในการเดินทางมีความไม่แน่นอนหรือมีความคลุมเครือ ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางการแก้ปัญหาเส้นทางที่สั้นที่สุดภายใต้ตัวเลขฟัซซี่สี่เหลี่ยมคางหมู (Trapezoidal fuzzy number) โดยใช้วิธีใช้เทคนิคการจัดอันดับที่แข็งแกร่ง (Robust ranking technique) ในการหาค่าที่เป็นตัวแทนของตัวเลขฟัซซี่สี่เหลี่ยมคางหมู จากนั้นใช้อัลกอริทึมของ Dijkstra เพื่อหาค่าใช้จ่ายในการเดินทางน้อยที่สุด (เส้นทางที่สั้นที่สุด) ผลการศึกษาพบว่าวิธีที่นำเสนอภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีความคลุมเครือ สามารถหาคำตอบที่ถูกต้องและเหมาะสมได้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความยินดีที่จะรับบทความจากอาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสาขาต่างๆ ที่มีการบูรณาการข้ามศาสตร์ที่เกี่ยวข้องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพแต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา หรือข้อคิดเห็นใดๆ ของบทความในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Bellman RE, Zadeh LA. Decision making in a fuzzy environment. Manage Sci. 1970; 17(4):141-64.
Dubois D, Prade H. Theory and Applications: Fuzzy Sets and Systems, New York:Academic Press;1980.
Takahashi MT, Yamakami A. On fuzzy shortest path problems with fuzzy parameters: an algorithmic approach. Fuzzy Logic Control for an Autonomous Robot. 2005 Annual meeting of the North American fuzzy information processing society; 26-28 June 2005; Detroit, MI, USA. IEEE; 2005.
Okada S. Fuzzy shortest path problems incorporating interactivity among paths. Fuzzy Sets Syst. 2004; 142(3):335–57.
Nayeem SMA, Pal M. Shortest path problem on a network with imprecise edge weight. Fuzzy Optim Decis Mak. 2005;4(4):293–312
Hernandes F, Lamata MT, Verdegay JL, Yamakami A. The shortest path problem on networks with fuzzy parameters. Fuzzy Sets Syst. 2007; 158(14):1561–70
Deng Y, Chen Y, Zhang Y, Mahadevan S. Fuzzy Dijkstra algorithm for shortest path problem under uncertain environment. Appl Soft Comput. 2012; 12(3):1231–7.
Lin L, Wu C, Ma L. A genetic algorithm for the fuzzy shortest path problem in a fuzzy network. Complex Intell Systems. 2021; 7:225–34
Dijkstra EW. A note on two problems in connexion with graphs. Numer Math (Heidelb). 1959;1:269–71.
Rosen KH. Graphs. Discrete mathematics and its applications. 7th ed. New York: McGraw-Hill; 2012. p. 641-79.
Zadeh LA. Fuzzy sets . Inf Control. 1965; 8(3):338-56.
Yager RR. A procedure for ordering fuzzy subsets of the unit interval. Information Science. 1981; 24:143–61.
Mateos A, Jiménez A. A trapezoidal fuzzy numbers-based approach for aggregating group preferences and ranking decision alternatives in MCDM. Evolutionary Multi-Criterion Optimization. Berlin: Heidelberg; 2009. p. 365–79.