การหาภาวะที่เหมาะสมในการลดปริมาณกรดไขมันอิสระในน้ำมันมะพร้าวด้วยปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันโดยใช้แอมเบอร์ลิสต์ 15 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา

Main Article Content

ศิรดา คชสวัสดิ์
จิรภา ใจดี
ศศิวิมล วุฒิกนกกาญจน์
กนกพร บุญทรง
อิ่มหรอน ทิ้งผอม
ปิยนุช นาคพงศ์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาภาวะที่เหมาะสมในการลดปริมาณกรดไขมันอิสระในน้ำมันมะพร้าวให้เหลือต่ำกว่า 1 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักด้วยปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันกับเมทานอลโดยใช้แอมเบอร์ลิสต์ 15  เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา  โดยน้ำมันมะพร้าวซึ่งใช้เป็นสารตั้งต้นมีปริมาณกรดไขมันอิสระ 3.93 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก สำหรับการวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาผลของตัวแปรชนิดต่างๆ ที่สำคัญที่มีต่อปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน 4 ชนิด ได้แก่  ปริมาณเมทานอล (5, 10, 20 และ 30 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร)  ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา (0, 5, 7.5 และ 10 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักต่อปริมาตรของน้ำมัน) อุณหภูมิในการเกิดปฏิกิริยา (40, 50 และ 60 องศาเซลเซียส) และเวลาในเกิดปฏิกิริยา (0.5, 1, 1.5 และ 2 ชั่วโมง) ผลที่ได้จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่าภายใต้ภาวะที่เหมาะสม ปริมาณกรดไขมันอิสระในน้ำมันมะพร้าวลดลงเหลือ 0.90 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก  โดยตัวแปรทั้ง 4 ชนิด มีผลในเชิงบวกต่อปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันของกรดไขมันอิสระในน้ำมันมะพร้าว ยกเว้นเมื่อใช้ปริมาณเมทานอลที่ 20 และ 30 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Hykkerud A, Marchetti JM. Esterification of oleic acid with ethanol in the presence of Amberlyst 15. Biomass Bioenergy. 2016; 95:340-3.

สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ | สหประชาชาติใน ประเทศไทย [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 13 เมษายน 2567]. Available from: https://thailand. un. org/th /174652.

ระบบสารสนเทศองค์ความรู้ด้านพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 13 เมษายน 2567]. Available from: https://kc.dede.go.th/knowledge- view.aspx?p=505.

Qiu T, Guo X, Yang J, et al. The synthesis of biodiesel from coconut oil using novel Brønsted acidic ionic liquid as green catalyst. Chem Eng J. 2016;296:71-8.

Kappally S, Shirwaikar A, Shirwaikar A. Coconut oil–a review of potential applications. Hygeia JD Med. 2015;7(2):34-41.

สารเคมีจากปิโตรเลียม / ปิยนุช นาคพงศ์ [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 14 เมษายน 2567]. Available from: https://www.car.chula. ac.th/ display7.php?bib=1915904.

Ghadge SV, Raheman H. Biodiesel production from mahua (Madhuca indica) oil having high free fatty acids. Biomass Bioenergy. 2005;28(6):601-5.

Tiwari AK, Kumar A, Raheman H. Biodiesel production from jatropha oil (Jatropha curcas) with high free fatty acids: An optimized process. Biomass Bioenergy. 2007;31(8):569-75.

Berchmans HJ, Hirata S. Biodiesel production from crude Jatropha curcas L. seed oil with a high content of free fatty acids. Bioresour Technol. 2008; 99(6):1716-21.

Boz N, Degirmenbasi N, Kalyon DM. Esterification and transesterification of waste cooking oil over Amberlyst 15 and modified Amberlyst 15 catalysts. Appl Catal B Environ. 2015; 165:723-30.

Alvear-Daza JJ, Pasquale GA, Rengifo- Herrera JA, et al.Mesoporous activated carbon from sunflower shells modified with sulfonic acid groups as solid acid catalyst for itaconic acid esterification. Catal Today. 2021; 372:51-8.

Felfelian Z, Mahdavi M. A new ZrC nano powder solid acid catalyst for the esterification synthesis of ethyl acetate. Catal Commun. 2023; 182:106752.

Sripada S, Kastner JR. Continuous catalytic esterification using a solid acid activated carbon monolith: Comparison of granular and monolith forms with a commercial catalyst. Chem Eng J. 2023;476:146586.

El-Nassan HB. Amberlyst 15®: An Efficient Green Catalyst for the Synthesis of Heterocyclic Compounds. Russ J OrgChem .2021;57(7):1109-34.

Ozbay N, Oktar N, Tapan NA. Esterifi cation of free fatty acids in waste cooking oils (WCO): Role of ion-exchange resins. Fuel. 2008;87(10-11), 1789-98.

Nakpong P, Wootthikanokkhan S. High free fatty acid coconut oil as a potential feedstock for biodiesel production in Thailand. Renewable Energy. 2010;35(8): 1682-7.

Pal R, Sarkar T, Khasnobis S. Amberlyst-15 in organic synthesis. Arkivoc. 2012; 570-609.

โสภิดา ศิริบาล, วันเพ็ญ บุญเรือง, กนกพร บุญทรง และคณะ. กรดไทรฟลูออโรแอซิติก: ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีประสิทธิภาพในขั้นตอนเอสเทอริฟิเคชันสำหรับการผลิตไบโอดีเซล. วารสาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. กรุงเทพ. 2567;1(2):1-8

Miao X, Li R and Yao H. Effective acid-Catalyzed transesterification for biodiesel Production. Energy onversion and Management. 2009;50(10):2680-4.