การสำรวจชนิดของพรรณไม้ในตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ

ผู้แต่ง

  • ยุคลธร สถาปนศิริ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
  • วิภาพรรณ ชนะภักดิ์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
  • วัลวิภา เสืออุดม สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
  • สุพิชชา วัฒนะประเสริฐ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
  • รัมภ์รดา มีบุญญา ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

บทคัดย่อ

การศึกษาความหลากหลายของพรรณไม้ในตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ได้ดำเนินการ ตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2562 โดยทำการเก็บตัวอย่างพืช บันทึกภาพถ่าย จัดทำพรรณไม้ แห้ง และระบุชนิด จากผลการศึกษาพบว่า พรรณไม้ทั้งหมด จำนวน 81 วงศ์ 213 สกุล 284 ชนิด จัดแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มพวกผักกูดหรือเฟิร์น 2 วงศ์ 3 สกุล 3 ชนิด กลุ่มพวกสนหรือพืชเมล็ดเปลือย จำนวน 1 วงศ์ 1 สกุล 1 ชนิด กลุ่ม พืชใบเลี้ยงเดี่ยว จำนวน 15 วงศ์ 37 สกุล 49 ชนิด กลุ่มพืชใบเลี้ยงคู่ จำนวน 63 วงศ์ 172 สกุล 231 ชนิด วงศ์พืชที่มี ความหลากหลายของชนิดมากที่สุดคือ วงศ์ถั่ว จำนวน 23 สกุล 30 ชนิด หลายชนิดมีความสำคัญทางเศรษฐกิจหรือทางด้าน สมุนไพร โดยตัวอย่างพรรณไม้แห้งจะจัดเก็บที่สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

References

ทวีศักดิ์ บุญเกิด, ต่อศักดิ์ ลีลานนท์. ความหลากหลายทางชีวภาพของกลุ่มพืช. ใน: กำธร ธีรคุปต์, สมศักดิ์ ปัญหา, ทวีศักดิ์ บุญเกิด, ต่อศักดิ์ ลีลานนท์, ทัศนีย์ เอี่ยมกมล, อัญชลี เอาผล และคณะ, บรรณาธิการ. ความหลากหลายทาง ชีวภาพในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ; 2545. หน้า 45-76.

องค์การบริหารส่วนตำบลคลองด่าน. ข้อมูลตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ สมุทรปราการ. [อินเตอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 3 ก.พ. 2560]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thaitambon.com/tambon/110205

พัชรินทร์ สายพัฒนะ, สิทธิ กุหลาบทอง. ศึกษาความหลากชนิดของพรรณไม้ป่าชายเลนในพื้นที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ กองทัพบกบางปู จังหวัดสมุทรปราการ. Veridian EJ Sci Technol Silpakorn Univ 2557;1 (1):13-8.

จิณนา เผือกนาง. การปลูกพรรณไม้ในถิ่นที่อยู่อาศัยกรณีศึกษา : การปลูกต้นไม้ตามบ้านของคนไทยเชื้อสายมอญที่บ้านทรงคะนอง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. กลุ่มงานนิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อมป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืชกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช. [อินเตอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 3 ก.พ. 2560]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dnp.go.th/environment/01/fileloadbase/4906.pdf

ไขศรี เปี่ยมศุภทรัพย์. การศึกษาความหลากหลายของพืชท้องถิ่นบริเวณชายฝั่งทะเล อำเภอพระสมุทรเจดีย์จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรม. วารสารเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการและงานวิจัยสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี [อินเตอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 1 ก.พ. 2562]. เข้าถึง ได้จาก: http://research.dru.ac.th/e-journal/index.php?url=abstract.php&abs_id=129&jn_id=18

ก่องกานดา ชยามฤต. คู่มือจำแนกพรรณไม้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัท ประชาชน จำกัด; 2545.

เมธินี ตาฬุมาศสวัสดิ์. พรรณไม้ห้วยทราย. พิมพ์ครั้งที่ 3. สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2552.

วงศ์สถิต ฉั่วกุล, พร้อมจิต ศรลัมพ์, รุ่งระวี เต็มศิริฤกษ์กุล, วิชิต เปานิล. สวนสมุนไพรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เล่มที่ 3 “สมุนไพรไทย มรดกไทย”. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน); 2540.

พร้อมจิต ศรลัมพ์. สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด; 2534.

พงษ์ศักดิ์ พลเสนา. พืชสมุนไพรในสวนป่าสมุนไพรเขาหินซ้อน ฉบับสมบูรณ์. ปราจีนบุรี: ห้างหุ้นส่วนจำกัด เจตนารมณ์ภัณฑ์; 2550.

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. ความหลากหลายทางชีวภาพพืชสมุนไพรในประเทศไทย ๑. กรุงเทพฯ: บริษัท เอกพิมพ์ไท จำกัด; 2558.

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. ความหลากหลายทางชีวภาพพืชสมุนไพรในประเทศไทย ๒. กรุงเทพฯ: บริษัท เอกพิมพ์ไท จำกัด; 2558.

ดวงพร สุวรรณกุล, รังสิต สุวรรณเขตนิคม. วัชพืชในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; 2544.

มัณฑนา นวลเจริญ. พรรณไม้ป่าชายหาด. ปทุมธานี: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี; 2552.

ชัยสิทธิ์ ตระกูลศิริพาณิชย์. พันธุ์ไม้ป่าชายเลนในประเทศไทย (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม). สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด; 2555.

Christopher B. The royal horticultural society a-z encyclopedia of garden plants. London: Doring Kindersley Ltd; 2020.

Jensen M. Trees and fruits of southeast ASIA: an illustrated field guide. Bangkok: Orchid Press; 2005.

McMakin PD. Flowering plants of Thailand: a field guide. Bangkok: White Lotus Co., Ltd; 2009.

Simpson MG. Plant systematics. California: Elsevier Inc; 2006.

ราชบัณฑิตยสถาน. อนุกรมวิธานพืช อักษร ก ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: หจก. อรุณการพิมพ์; 2547.

ลาวัลย์ ชัยวิรัตน์นุกูล, ชุมศรี ชัยอนันต์. การศึกษาอนุกรมวิธานของพรรณไม้ในมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. สมุทรปราการ: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ; 2544.

ก่องกานดา ชยามฤต. ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้. โครงการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้และสัตว์ป่าแบบบูรณาการ เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด; 2548.

ก่องกานดา ชยามฤต. ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 2. โครงการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้และสัตว์ป่าแบบบูรณาการ เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: บริษัท ประชาชน จำกัด; 2549.

ก่องกานดา ชยามฤต. ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 3. โครงการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้และสัตว์ป่าแบบบูรณาการ เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด; 2551.

องค์การสวนพฤกษศาสตร์. ฐานข้อมูลพรรณไม้. [อินเทอร์เน็ต]. 2556. [เข้าถึงเมื่อ 1 ก.ค. 2562]. เข้าถึงได้จาก: www.qsbg.org

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. ระบบฐานข้อมูลกลางและมาตรฐานข้อมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 13 พ.ค. 2562]. เข้าถึงได้จาก: https://km.dmcr.go.th/th

MedThai. รายชื่อสมุนไพร. [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 5 มิ.ย. 2562]. เข้าถึงได้จาก: https://medthai.com

สำนักงานอุทยานแห่งชาติ. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช. [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 7 มิ.ย. 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dnp.go.th

สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพ กรมป่าไม้. ระบบจัดการฐานความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ. [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 19 ก.ค. 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://biodiversity.forest.go.th

Peter RB. Green plants their origin and diversity. Hong Kong: Colorcraft Ltd; 1992.

Rodolphe ES, Vincent S, Murielle, Daniel J. Systematic botany of flowering plants. New Hampshire: Science publishers, Inc; 2004.

จำลอง เพ็งคล้าย. จากยอดเขาถึงใต้ทะเล: ความหลากหลายและการเรียนรู้เรื่อง ชนิดป่าและพรรณพืชเมืองไทย. โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท เอดิสัน เพรส โพรดักส์ จำกัด; 2546.

ชัยสิทธิ์ ตระกูลศิริพาณิชย์. ความหลากหลายทางชีวภาพในป่าชายเลน 1 ทศวรรษทรัพยากรชีวภาพในป่าชายเลน (พ.ศ. 2549-2558). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด; 2559.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30

How to Cite

สถาปนศิริ ย., ชนะภักดิ์ ว., เสืออุดม ว., วัฒนะประเสริฐ ส., & มีบุญญา ร. (2020). การสำรวจชนิดของพรรณไม้ในตำบลคลองด่าน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 6(2), 32–45. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/scihcu/article/view/243673