การปนเปื้อนของจุลินทรีย์ทั้งหมด และ Salmonella ของพริกขี้หนูในระหว่างการเพาะปลูก และกระบวนการสู่ตลาด

ผู้แต่ง

  • สุดสายชล หอมทอง สาขาวิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • คุณากร ถกลพงศ์เลิศ สาขาวิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

คำสำคัญ:

การปนเปื้อน, จุลินทรีย์ทั้งหมด, Salmonella, พริกขี้หนู

บทคัดย่อ

การศึกษาปนเปื้อนของจุลินทรีย์ทั้งหมดและ Salmonella ของพริกขี้หนูในระหว่างการเพาะปลูกและกระบวนการ สู่ตลาดในพื้นที่การเกษตรอำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี ในช่วงเดือนมกราคม ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 การศึกษาได้ ดำเนินการโดยการสังเกตและสุ่มตัวอย่างพริกขี้หนู (พริกขี้หนูจากต้น พริกที่ผ่านการคัดคุณภาพ และพริกที่จัดจำหน่าย) จาก 2 แปลงปลูก และปัจจัยในการผลิต ได้แก่ ถังเก็บพริก ผ้ารองคัดคุณภาพ มือเกษตรกรก่อนการเก็บเกี่ยว และน้ำที่ใช้ ในการเพาะปลูก ผลการทดลองพบว่าตัวอย่างพริกขี้หนูมีการปนเปื้อนจุลินทรีย์ โดยมีปริมาณสูงสุดเท่ากับ 5.9×105 CFU/กรัม ในพริกขี้หนูที่จัดจำหน่าย และปริมาณต่ำสุดเท่ากับ 2.05×105 CFU/กรัม ในพริกขี้หนูจากต้น สำหรับปัจจัยการผลิตทุกปัจจัย มีการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ทั้งหมด ตัวอย่างพริกขี้หนูทั้งหมดจากการตัวอย่างครั้งที่ 2 ทั้ง 2 แปลงปลูก พบการปนเปื้อน Salmonella สุขาภิบาลของโรคที่เกิดจากอาหารได้รับการวิเคราะห์ตามเกณฑ์มาตรฐานทางจุลชีววิทยาที่กำหนดไม่ให้พบ Salmonella ในตัวอย่าง 25 กรัม จากผลการทดลองครั้งนี้พริกขี้หนูไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ ผลการศึกษาชี้ให้เห็น ถึงความสำคัญในการป้องกันการปนเป้อื นในระหว่างการเพาะปลูกและผ้บู ริโภคควรล้างพริกด้วยน้ำก่อนรับประทานทุกครั้ง

References

Phromphat. พริกขี้หนู สรรพคุณและประโยชน์ของ พริกขี้หนูสวน 44 ข้อ!. [อินเตอร์เน็ต]. 2557. [เข้าถึงเมื่อ 20 ม.ค. 2561]. เข้าถึงได้จาก: https:// medthai.com/พริกขี้หนู

Jom. พริกขี้หนูสวน. [อินเตอร์เน็ต]. 2557. [เข้าถึงเมื่อ 20 ม.ค. 2561]. เข้าถึงได้จาก: https://www.thai-thaifood.com/th/พริกขี้หนูสวน

Puechkaset. พริกขี้หนู (Hot chilli) สรรพคุณ และ การปลูกพริกขี้หนู. [อินเตอร์เน็ต]. 2557. [เข้าถึงเมื่อ 20 ม.ค. 2561]. เข้าถึงได้จาก: http://puechkaset. com/พริกขี้หนู

ณัฐดนัย มุสิกวงศ์. “พริกขี้หนู” พืชเศรษฐกิจสร้าง รายได้ สามารถปลูกได้ทุกพื้นที่ของประเทศไทย. [อินเตอร์เน็ต]. 2560. [เข้าถึงเมื่อ 20 ม.ค. 2561]. เข้าถึงได้จาก: https://www.technologychaoban. com/ agricultural-technology/article_37550

สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของพืชอาหาร. [อินเตอร์เน็ต]. 2561. [เข้าถึงเมื่อ 20 ม.ค. 2561]. เข้าถึงได้จาก: http://www.acfs.go.th/ ib/tom_003. pdf

ปราณี วรเนตรสุดาทิพย์, ประยุทธ สีสวยหูต, ชุลีกร ลีโนนลาน, สนิทพิมพ์ สิมมาทัน. สถานการณ์เชื้อ จุลินทรีย์ อีโคไลและซัลโมเนลลาในผักจากแปลง เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. ขอนแก่น: สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 3 ขอนแก่น กรมวิชาการเกษตร; 2556.

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. เกณฑ์คุณภาพทาง จุลชีววิทยาของอาหารและภาชนะสัมผัสอาหาร ฉบับที่ 3. [อินเตอร์เน็ต]. 2560. [เข้าถึงเมื่อ 16 พ.ค. 2561]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dmsc.moph.go.th/ dmscnew/userfiles/files/1S__1286203.pdf

Maturin L, Peeler JT. Bacteriological Analytical Manual: Aerobic Plate Count (Chapter 3). [Internet]. 2001 [cited 2018 January 20]. Available from: http://www.fda.gov/Food/ FoodScienceResearch/LaboratoryMethods/ ucm063346.htm

Internationnal standard ISO 6579:2002. Microbiology of food and animal feeding stuffs, part 6: horizontal method for the detection of Salmonella spp. Internationnal Organization for Standardization. [Internet]. 2002. [cited 2018 January 20]. Available from: http://www. iso.org/iso/home/store/catalogue_tc/ catalogue_detail.htm?csnumber=29315

ปรีชา จึงสมานุกูล, นวรัตน์ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต, กมล วรรณ กันแต่ง. การปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ในผักสด. กรุงเทพฯ: สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์; 2553.

วันเพ็ญ แสงทองพินิจ, อัจฉรา ภู่แดง, เบญจวรรณ โม ราศี. การตรวจสอบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ของ มะเขือเทศราชินี ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตําบลดอนตูม อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม. ใน: เอกสาร ประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ NPRU ครั้งที่ 4 วันที่ 12-13 กรกฎาคม 2555. มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครปฐม. นครปฐม; 2555, หน้า 1-10.

Tauxe RV. Emerging foodborne diseases: an evolving public health challenge. Emerg Infect Dis 1997;3:425-34.

ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล, ชุตินธร หยุนแดง. การปนเปื้อน โดย Escherichia coli ในแปลงผลิตที่มีผลต่อ คุณภาพ ของผักกาดหอมหลังการเก็บเกี่ยว. วารสาร วิทยาศาสตร์เกษตร 2553;41:572-5.

Martin H. Manure composting as a pathogen reduction strategy. [Internet]. 2005. [cited 2018 January 20]. Available from: http://www. exposantd.be/site/ wp-content/ uploads/ 2012/07/ AspectSanitaire.pdf

นภาพร เชี่ยวชาญ. การควบคุมการปนเปื้อนจุลินทรีย์ ในผักและผลไม้. วารสารจาร์พา 2546;73:38-41.

สุมณฑา วัฒนสินธ์, ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ, กมล บุษบา, กษิดิศอื้อเชี่ยวชาญกิจ, อรุณบ่างตระกูลนนท์, สุวิทย์ กิ่งแก้ว. รายงานผลการประเมินความเสี่ยง กิจกรรม การประเมินความเสี่ยงและการสร้างผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินความเสี่ยงสำหรับอันตราย ประเภทจุลินทรีย์ : Salmonella spp. ปทุมธานี: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2548.

Almuktar SA, Scholz M. Experimental assessment of recycled diesel spill-contaminated domestic wastewater treated by reed beds for irrigation of sweet peppers. Int J Environ Res Public Health 2016;13(2):208- 13.

Kumar GD, Williams RC, Al Qublan HM, Sriranganathan N, Boyer RR, Eifert JD. Airborne soil particulates as vehicles for Salmonella contamination of tomatoes. Int J Food Microbiol 2017;243:90-95.

อาลักษณ์ ทิพยรัตน์. การบูรณาการภาพรวมของชุด การตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนของซัลโมเนลลาอย่าง รวดเร็วในอุตสาหกรรมอาหารเพื่อยกระดับมาตรฐานการส่งออก. ชลบุรี: คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพา; 2559.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-30