การจัดลำดับปัจจัยในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของผู้ประกอบการ ผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นด้วยกระบวนการโครงข่ายเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่

ผู้แต่ง

  • วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์ ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

คำสำคัญ:

การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน, ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น, กระบวนการโครงข่ายเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันโดย ใช้กระบวนการโครงข่ายเชิงวิเคราะห์แบบฟัซซี่ (Fuzzy Analytic Network Process: FANP) โดยผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ ชุมชนและท้องถิ่น จำนวน 5 ราย ถูกคัดเลือกมาเพื่อประเมินความสำคัญของปัจจัยในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันซึ่งประกอบด้วย 5 ปัจจัยหลัก และ 21 ปัจจัยรองด้วยการเปรียบเทียบเป็นรายคู่ ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยย่อยที่ผู้ประกอบ การผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นให้ความสำคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ 1) มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน 2) มีราคาที่เหมาะสม 3) มีจำนวนพนักงานที่เพียงพอเหมาะสม 4) ส่งสินค้าได้ตามเวลาที่ตกลงกับลูกค้า และ 5) มีผลิตภัณฑ์หรือบริการที่แตกต่าง จากคู่แข่ง ตามลำดับ

References

เรวัฒน์ ชาตรีวิศิษฎ์, ศิรินทร ภู่จินดา, อาทิตา ชูตระกูล, นันท์นภัส จินานุรักษ์, พิมพ์ชนก พ่วงกระแส, วรพจน์ นิลจู. Strategic Management. กรุงเทพฯ: ถังทรัพย์การพิมพ์; 2553.

สถาบันรับรองมาตรฐาน ไอเอสโอ. การติดตามประเมินผลโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ปีงบประมาณ 2548. กรุงเทพฯ: สถาบันรับรองมาตรฐาน ไอเอสโอ; 2548.

สมยศ นาวีการ. การบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ; 2548.

รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร, สุรชัย อุตมอ่าง. การบริหารความได้เปรียบทางการแข่งขันเพื่อความสำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจ SMEs ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ 2554;28(1): 49-63.

Saaty TL. Decision making with dependence and feedback: the analytic network process. Pittsburgh: RWS Publications; 1996.

Saaty TL. Making with dependence and feedback. 2nd ed. Pittsburgh: RWS Publications; 2001.

Chang D. Application of the extent analytic method on Fuzzy AHP. Eur J Oper Res 1996; 95:649-55.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. การบริหารเชิงกลยุทธ์และกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์มและไซเท็กส์; 2542.

Porter ME. Competitive advantage of nation: with a new introduction. London: Macmillan; 1990.

พัชสิรี ชมพูคำ. องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล; 2553.

วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์, วริยา ปานปรุง. การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืนในโซ่อุปทานวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. รายงานการวิจัยเสนอต่อสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. กรุงเทพฯ; 2559.

ณภัทร ทิพย์ศรี, พินิจ บำรุง, สิริพร กุแสนใจ, สุภาวดี เตชะยอด. ความได้เปรียบทางการแข่งขันด้วยการจัดการตลาด เชิงกลยุทธ์ในยุคเศรษฐกิจแห่งการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดเชียงราย. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่ 2558;8(1):153-66.

สรวิศ ปิ่นรัตนานนท์. ความได้เปรียบทางการแข่งขันและความสามารถของผู้ประกอบการต่อความสำเร็จทางการตลาดธุรกิจการท่องเที่ยวของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. นครราชสีมา; 2555.

Thai Franchise Center. กำหนดลูกค้าเป้าหมายให้ชัดเจนก่อนทำการตลาด. [อินเตอร์เน็ต]. 2556 [เข้าถึงเมื่อ 13 พ.ย. 2561]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thaifranchisecenter.com/document/show.php?docuID=674

วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์, วัลยา ก่ำรารามัญ. กลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ กรณีศึกษา: บ้านลูกประคบสมุนไพร อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. Veridian E-J Silpakorn Uni 2560;10(3):2007-14.

ภูเมศ จำปาวงค์. ศักยภาพของชุมชนด้านผลิตภัณฑ์โครงการ “หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์” อำเภอเมืองจังหวัดจันทบุรี. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา; 2547.

Nussbaum B. The power of design. Bus Week 2004; 96:3883.

ศรวณะ แสงสุข, บัณฑิต ผังนิรันดร์, บุญเชิด ภิญโญอนันตพงศ์. กลยุทธ์การสร้างความแตกต่างเพื่อความได้เปรียบในการแข่งขันของสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ประเภทเซรามิกในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์ 2557;9(26):43-60.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-28