การประเมินความเสี่ยงของเกษตรกรสำหรับการปลูกข้าวปลอดภัย โดยเทคนิคเรียงลำดับตามอุดมคติวิภัชนัย
คำสำคัญ:
ข้าวปลอดภัย, การประเมินความเสี่ยง, เซตวิภัชนัยบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อประเมินความเสี่ยงของเกษตรกรสำหรับการปลูกข้าวปลอดภัยโดยเทคนิคเรียงลำดับตามอุดมคติวิภัชนัย (Fuzzy TOPSIS) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือเกษตรกรที่ต้องการปลูกข้าวปลอดภัยโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง ในอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 50 คน ผลจากการวิจัยพบว่า ด้านความรู้เกี่ยวกับการปลูกข้าวปลอดภัย ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ มีความเสี่ยงมากที่สุด โดยมีค่าทางเลือกที่เหมาะสมเท่ากับ 0.7988 ด้านผลกระทบภายในวิถีชีวิต/ครัวเรือน การปรับเปลี่ยนแนวคิด มีความเสี่ยงมากที่สุด โดยมีค่าทางเลือกที่เหมาะสมเท่ากับ 0.9347 และด้านการตลาดและเศรษฐกิจ ตลาดรับซื้อข้าวปลอดภัยซึ่งอยู่ในด้านการตลาดและเศรษฐกิจ มีความเสี่ยงมากที่สุด โดยมีค่าทางเลือกที่เหมาะสมเท่ากับ 1.0000
References
สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. การปฏิบัติทางการเกษตรกรที่ดีที่เหมาะสม (Good Agriculture Practices : GAP) 2561.
Rohmaha DUM, Daniaa WAP, Dewia IA. Risk Measurement of supply chain organic rice product using fuzzy Failure mode effect analysis in MUTOS Seloliman Trawas Mojokerto. Agric Agric Sci Procedia 2015;3:108-13.
อุษณีย์ เส็งพานิช. การประยุกต์ใช้บัญชีเพื่อการจัดการสำหรับการตัดสินใจผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวตามระบบการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP:Seed): กรณีศึกษาของเกษตรกรในเขตจังหวัดพิษณุโลก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มรพส. 2559;10(2):37–54.
Deepa N, Ganesan K, Balaji S. Predictive mathematical model for solving multi-criteria decision-making problems. Neural Comput Appl 2019;31:6733–46.
Yazdi M. Risk assessment based on novel intuitionistic fuzzy–hybrid - modified TOPSIS approach. Agric Agric Sci Procedia 2018;3:108–13.
ปัทมา บุตรศรี, คมกริช วงศ์แข, อุทิศ พงษ์จิรวัฒนา, ชินภัทร คันธพนิต. การศึกษาความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวอาเซียน โดยวิธีการเรียงลำดับด้วยแนวทางความคล้ายคลึงกัน. วารสารการบัญชีและการจัดการ 2560;9(1):65-78.
ปรารถนา อุตพัฒน์. แผนที่ความรุนแรงของอาชญากรรมในประเทศไทยจากการศึกษาด้วยวิธีเรียงลำดับความคล้ายคลึงกัน. ใน: เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 2 วันที่ 20 มกราคม 2560. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. มหาสารคาม; 2560. หน้า 408-12.
ณัฏฐินี ดีแท้, ปัณณวิช คำรอด. เทคนิคการเรียงลำดับตามอดุมคติสำหรับการประเมินความเสี่ยงของเกษตรกรที่ต้องการปลูกข้าวปลอดภัย. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 2564;13(25):13-25.
Chen-Tung C. Extensions of the TOPSIS for group decision-making under fuzzy environment. Fuzzy Sets and Syst 2000;114(1):1-9.
Natthinee D, Pannawit K. Application of fuzzy TOPSIS for multiple criteria decision-making based on interval bipolar fuzzy sets. Int J Math Comput Sci 2022;17(2):569-82.
Nazim M, Mohannad CW, Sadiq M. A comparison between fuzzy AHP and fuzzy TOPSIS methods to software requirements. Alex Eng J 2022;61(12):10851-70.
Sanjay K, Saurabh K and Barman AG. Supplier selection using fuzzy TOPSIS multi criteria model for a small scale steel manufacturing unit. Procedia Comput Sci 2018;133:905–12.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ