ผลของสาหร่าย Scenedesmus sp. ต่อการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ส่งผลต่อ การผลิตไขมัน (THE EFFECT OF SCENEDESMUS SP. ON REDUCING CARBON DIOXIDE AFFECTING LIPID PRODUCTIVITY)

ผู้แต่ง

  • ครรชิต เงินคำคง หลักสูตรวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่
  • ลดาวัลย์ วัฒนะจีระ หลักสูตรวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่
  • นันท์นภัส เงินคำคง สำนักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • บัญจรัตน์ โจลานันท์ หลักสูตรวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของสาหร่าย Scenedesmus sp. ต่อการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ส่งผลต่อการผลิตไขมัน โดยทำการเพาะเลี้ยงสาหร่าย Scenedesmus sp. ในอาหารเหลวสูตรเจเอ็มในถังไบโอรีแอคเตอร์ ปริมาตร 8 ลิตร โดยให้ความเข้มแสงที่ 4,000 ลักซ์ ให้อากาศตลอด 24 ชั่วโมง ในชุดควบคุม โดยชุดการทดลองทำการเติมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ร้อยละ 99 ที่อัตราการไหล 0.05, 0.10 และ 0.15 vvm ตามลำดับ หลังจากการเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 20 วัน ผลการศึกษาพบว่า ที่อัตราการไหล 0.05 vvm การเจริญของสาหร่ายและประสิทธิภาพในการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ดีกว่าที่อัตราการไหล 0.10 และ 0.15 vvm โดยมีค่าอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะสูงสุด 0.45±0.09 ต่อวัน มีค่าความหนาแน่นของเซลล์สาหร่ายสูงสุดถึง 0.72±0.04  มวลชีวภาพของสาหร่ายสูงสุด 2,283.33±125.83 มิลลิกรัมต่อลิตร และปริมาณไขมันเฉลี่ย 10.88±0.68 ร้อยละต่อน้ำหนักแห้ง ประสิทธิภาพในการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงสุดร้อยละ 97.90±1.15

Downloads

Download data is not yet available.

References

[11] Chan, A. (2011). Use of microalgae in wastewater treatment to remove contaminants and purify
biogas. Ph.D. The University of Guelph, Canada.
[12] Toledo-Cervantes, A., M. Morales, E. Novelo and S. Revah. (2013). Carbon dioxide Fixation and
lipid storage by Scenedesmus obtusiusculus. Bioresource Technology. 130: 652-658.
[13] Vonshak, A. (1986). Microalgae : Laboratory Growth Techniques and Outdoor Biomass
Production. In Coombs, J., Hall , D.O., Long , S.P. and Scurlock , J.M.O. (eds.). Techniques in
Bioproductivity and Photosynthesis. 2nd. Pergamon Press.
[14] Kao, C.-Y., S.-Y. Chiu, T.-T. Huang, L. Dai, L.-K. Hsu and C.-S. Lin. (2012). Ability of a mutant
strain of microalgae Chlorella sp. to capture carbon dioxide capture for biogas upgrading.
Applied Energy. 39: 76-183.
[15] American Public Health Association (APHA), The American Water works Association (AWWA), The
Water EnvironmentFederation (WEF). (2005). Standard Methods for extermination of water and
wastewater. 21st edition. Washington, DC.
[16] Hodaifa, G., M.E. Martinez and S. Sanchez. (2009). Influence of pH on the culture of
Scenedesmus obliquus in olive-mill wastewater. Biotechnology and Bioprocess Engineering.
14: 854-860.
[17] Lane, A.E. and J.E. Burris. (1981). Effects of environmental pH on the internal pH of
Chlorella pyrenoidosa, Scenedesmus quadricauda, and Euglena mutablis. Plant Physiol.
68: 439-442.
[18] Morais, M. G. D. and J.A.V. Costa. (2007). Carbon dioxide fixation by Cholrella kessleri,
C. vulguris, Scenedesmus obiquus and Spirulina sp. cultivated in flasks and vertical tubular
photobioreactors. Biotechnol Lett. 29: 1349-1352.
[19] Ren, H.-Y., B.-F. Liu, C. Ma, L. Zhao and N.-Q. Ren. (2013). A new lipid-rich microalga
Scenedesmus sp. strain R-16 isolated using nile red staining: effects of carbon and nitrogen
sources and initial pH on the biomass and lipid production. Biotechnology for biofuels.
6(143): 1-10.
[20] Hanagata, N., T. Takeuchi, Y. Fukuju, D.J. Barnes, and I. Karube. (1992). Tolerance of Microalgae
to high CO2 and high temperature. Phytochemistry. 31: 3345-3348.
[21] ธราดล ภิรมย์ชาติ. (2545). การออกแบบและทดสอบถังเลี้ยงสาหร่าย Baffled Bobble Photobioreactor
เพื่อกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
[22] พัชริดา จันทรมณี; พัชรี หอวิจิตร; และ Tim C. Keener. (2556). ผลของก๊าซชีวภาพที่มีต่อการ
เจริญเติบโตในเซลล์สาหร่าย Chlorella vulgaris และ Scenedesmus obliquus. ใน เอกสารการสัมมนา
วิชาการ วิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23. หน้า 9-18. ขอนแก่น:
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
[23] Tongprawhan, W., S. Srinuanpan and B. Cheirsilp. (2014). Biocapture of CO2 from biogas
by Oleaginous microalgae for improving methane content and simultaneously producing lipid.
Bioresource Technology. 170: 90-99.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-05-22