ห้องเรียนภาษาไทยโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน: จากแนวคิดสู่แนวทางการจัดการเรียนรู้ Community-based learning in Thai language Classroom: from Concept to Learning Management Approach

Main Article Content

สุรพงษ์ กล่ำบุตร

บทคัดย่อ

        บทความนี้เป็นการนำเสนอการประยุกต์แนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานสำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาภาษาไทย เพื่อเป็นแนวทางให้ครูภาษาไทยได้สร้างประสบการณ์การเรียนรู้แบบใหม่ ออกแบบห้องเรียนและกิจกรรมการเรียนรู้ใหม่ ๆ ที่มีชุมชนเป็นทรัพยากรส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน และสิ่งสำคัญคือครู นักเรียน และชุมชนจะได้เรียนรู้ไปพร้อม ๆ กัน นำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ของทุกภาคส่วน และเพื่อจุดประกายให้ครูหลาย ๆ คนต่อยอดนวัตกรรมห้องเรียนภาษาไทยให้น่าสนใจสร้างความกระตือรือร้นให้ผู้เรียน และสานประโยชน์ร่วมกับชุมชน โดยบทความกล่าวถึง 1) ความหมายของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน 2) แนวคิดของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน 3) แนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานในห้องเรียนภาษาไทย และ 4) การประยุกต์จัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน

Article Details

How to Cite
กล่ำบุตร ส. (2024). ห้องเรียนภาษาไทยโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน: จากแนวคิดสู่แนวทางการจัดการเรียนรู้: Community-based learning in Thai language Classroom: from Concept to Learning Management Approach. คุรุสภาวิทยาจารย์, 5(2), 1–16. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/withayajarnjournal/article/view/253553
บท
บทความวิชาการ

References

ฉัตร์นิพัฒน์ คําบ้านฝาย พรสุดา อินทร์สาน และสิระ สมนาม. (2566). แนวทางการจัดการเรียนรู้ภาษา

ไทยฐานชุมชน ด้วยการบูรณาการแหล่งเรียนรู้ทางคติชนท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมสมรรถนะ

สำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 25(2), 327-

https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/248794

วิภาดา พินลา และ วิภาพรรณ พินลา. (2566). ห้องเรียนครูสังคมศึกษากับการจัดการเรียนรู้โดยใช้

ชุมชนเป็นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 23(2), 1-12. https://so02.tci- thaijo.org/index.php/eduthu/article/view/259549

สุวิมล คำนวน. (2565). การจัดการเรียนรู้วรรณคดีวิจักษ์ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : กรณีศึกษา เรื่อง

ลิลิตตะเลงพ่ายกับวัดสุวรรณดาราราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร(ฝ่ายมัธยม). https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/

/27999

Atelia Melaville Amy C. Berg and Martin J. Blank. (2006). Community-Based Learning: Engaging Students for Success and Citizenship. Washington, DC, Coalition for Community Schools. https://eric.ed.gov/?id=ED491639

Centre for Teaching Excellence. (n.d.). Community-Based Learning. University of Waterloo, Canada. https://uwaterloo.ca/centre-for-teaching- excellence/catalogs/tip- sheets/community-based-learning.

Department of Education and Early Childhood Development. (2013). Community-

Based Learning: A Resource for Schools. Department of Education and

Early Childhood Development. Nova Scotia, Canada.

Department of Education and Early Childhood Development. (2022). Community-

Based Learning: A Resource for Schools. Department of Education and

Early Childhood Development. Nova Scotia, Canada.

McIlrath, L.,& MCDonnell, C. (2014). Community Based Learning. Campus

Engage: Ireland. https://www.academia.edu/8486985/McIlrath_L_and_

MCDonnell_C_2014_Community_Based_Learning_Campus_Engage_Ireland.

Julia Heinen, D.M.A. Pamela Palacios and Joshua Chang. (n.d.). Community-based Learning Faculty Handbook 2020-2021. California State University. https://www.csun.edu/sites/default/files/CBL%20Faculty%20Handbook_2020- 2021%20%281%29.pdf.

Patty Mathison Shauna Rigaud and Carrie Hutnick. (2017). Community Based Learning Faculty Handbook. George Mason University.

Simmons University. (2021). Community-Based and Service-Learning Guide Simmons Center for Community Engagement. https://www.simmons.edu/sites/default/

files/2023-06/Faculty_Community-Based-Service-Learning-Guide.pdf.