ความคิดเห็นเกี่ยวกับการสังเคราะหระบบสารเทศเพื่อการบริหารหลักสูตร ตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

Main Article Content

แสงเพ็ชร พระฉาย, Ph.D

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะหระบบสารเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาและศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อการสังเคราะหระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตร ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา วิธีดำเนินการวิจัยมี 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 สนทนากลุ่ม ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อสังเคราะหระบบสารสนเทศ จำนวน 10 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างศึกษาแนว ปฏิบัติและความต้องการจำเป็นในเบื้องต้น ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์ความสอดคลองของแบบสอบถามการวิจัย จากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญจำนวน
5 คน โดยวัดค่าดัชนีความสอดคลองแบบสอบถามการวิจัย ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์ ความเหมาะสมของ
ผลการสังเคราะหระบบสารสนเทศตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาจากกลุม ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 10 คน โดยวัดค่าเฉลี่ยความเหมาะสมและปรับปรุงผลการสังเคราะหระบบตาม ขอเสนอแนะ 


            ผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิมีลักษณะ บทบาทหน้าที่ และความสัมพันธ์ในการแจกจ่ายสารสนเทศ แบงออกเป็น 9 โมดูล คือ โมดูลการกำหนดสิทธิ์ ผู้ใช้งาน โมดูลการสื่อสาร โมดูลผู้สอน โมดูลผู้เรียน โมดูลผู้ประกอบการหรือพี่เลี้ยง โมดูลรายละเอียดหลักสูตร  โมดูลรายละเอียดและผลการดำเนินการของรายวิชา โมดูลรายละเอียดและผลการดำเนินการของการฝึก ประสบการณภาคสนาม และโมดูลผลการดำเนินการหลักสูตร 2) ผลการวิเคราะห์ความเหมาะสมของการสังเคราะหระบบ สารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ความสมบูรณในด้านลักษณะ องค์ประกอบของระบบวัดความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ความสมบูรณในด้านความสัมพันธ์ของระบบวัดความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และความสมบูรณในด้านบทบาทหน้าที่ของระบบวัดความเหมาะสมเฉลี่ยได 4.78 ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] วิชิต สุรัตนเรืองชัย และคนอื่น ๆ. (2548). “การศึกษาสภาพและปญหาการจัดการเรียนการสอนของ คณาจารยมหาวิทยาลัยบูรพา”, ศึกษาศาสตร. 17(2) : 115-118; พฤศจิกายน- มีนาคม,
2548 - 2549.
[2] ทรงศักดิ์ สองสนิท. (2552). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบรวมมือบนเว็บโดยใชพื้นฐานการเรียนรูแบบโครงงาน.วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม
เกลาพระนครเหนือ.
[3] สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2554). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2553, สืบค้นเมื่อ 17 พฤษภาคม 2554. จาก http://www.mua.go.th/users/tqf-hed/
[4] บุญชม ศรีสะอาด. (2545). วิธีการสรางสถิติสําหรับการวิจัย. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน.
[5] ยืน ภูวรวรรณ และสมชาย นําประเสริฐชัย. (2546). ไอซีทีเพื่อการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด ยูเคชั่น.
[6] ไพฑูรย สินลารัตน และคณะ. (2552). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย : จากการ วิจัยสูการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
[7] วิทยา อารีราษฎร. (2549). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนใชคอมพิวเตอรชวยแบบอัจฉริยะและมี สวนรวมผานเครือขายคอมพิวเตอร. วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต,มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.
[8] มนตชัย เทียนทอง. (2549). การพัฒนาระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน : K-LMS. วารสารเทคโนโลยี สารสนเทศ. 2 (มกราคม - มิถุนายน 2549) : 45-48.