การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การเลือกซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

Main Article Content

ลาวัณย์ ดุลยชาติ

บทคัดย่อ

         การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาและหาคุณภาพบทเรียน e-Learning และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียน e-Learning เรื่อง การเลือกซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงานกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 จำนวน 30 คน โรงเรียนกุฉินารายณ์ ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่ายโดยวิธีการจับสลาก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ บทเรียน e-Learning เรื่อง การเลือกซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงานแบบประเมินคุณภาพบทเรียน e-Learning และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


    ผลการวิจัยพบว่า บทเรียน e-Learning เรื่อง การเลือกซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงานสำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีคุณภาพ อยู่ในระดับมากที่สุด และผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียน e-Learning โดยรวมอยู่ในระดับมาก

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] พงษ์ศักดิ์ ด่วนดี. (พงษ์ศักดิ์ ด่วนดี : สัมภาษณ์). การจัดการเรียนการสอนรายวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร. สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 17/12/2556.
[2] อิราวรรส พูนผล. (2555). การพัฒนาบทเรียน E-learning วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. โรงเรียนสูงเนิน อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา.
[3] นฤมล นวลผกา. (2554). การพัฒนาบทเรียน e-learning วิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเทคนิคราชบุรี.
[4] จตุรงค์ ตรีรัตน์. (2554). การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนภัทรญาณวิทยา. การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรปริญญาศึกษา
ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
[5] วรัณศณางค์ บุณฑริก. (2554). การพัฒนาบทเรียน e-Learning วิชา คอมพิวเตอร์ช่วยสอน และ ศึกษาประสิทธิภาพของ บทเรียน e-Learning วิชา คอมพิวเตอร์ช่วยสอน.รายงานการวิจัย
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
[6] Tad lock Ashley. (2011). เรียนรู้ออนไลน์ Web Based หลักสูตรการเรียนรู้แบบดั้งเดิมเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์. [สืบค้นวันที่ 29 พฤษภาคม ‎2557]. จาก
http://hdl.handle.net/2142/34757
[7] Hindes, M. A. (1999). Web-based instruction for school library media specialists: Unleash the power of the World Wide Web. Paper presented at the Third
International Forum on Research in School Librarianship, Annual Conference of the International Association of School Librarianship, Birmingham, AL (ERIC
Document Reproduction Service No. ED 437070).
[8] Matthew, Kathryn and Gita Varagoor. (2001). Student Responses to Online CourseMaterials. online. (Available). From : http://www.thailis.uni.net/eric/detial.nsp.
[9] อัญญาปารย์ ศิลนิลมาลย์. (2558) การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบของ ADDIE. ขอนแก่น : โรงพิมพ์แอนนา ออฟเซต.
[10] ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ. (2543). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
[11] วิลาชินณ์ ประคัลภ์พงศ์. (2554). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนระบบอีเลิร์นนิ่งเรื่อง คอมพิวเตอร์เบื้องต้น วิชา เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2.
โรงเรียนนนทบุรีวิทยาลัย อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี.