การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง ไอพีวี6 สำหรับนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน์และหาประสิทธิภาพของบทเรียน เรื่อง IPv6 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 3) ศึกษาศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร จำนวน 18 คน โดยสร้างบทเรียนบนระบบ Learning Management System และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test
ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนออนไลน์มีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 82.50/81.74 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.00 และ 3) ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อบทเรียนออนไลน์นี้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.20, S.D. = 0.75)
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย
References
[1] สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) และ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2555). แนวทางการเปลี่ยนผ่าน IPv4 ไปสู่ IPv6. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก https://www.ipv6.ega.or.th/res/IPv6%20 Transition%20Guide-20120123001.pdf [ธันวาคม 20, 2560].
[2] โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2559). เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[3] เบห์รัส เอ โฟราวซาน และโซเฟีย ชุง เฟกาน. (2549). การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ [Data communications and networking] (จักกริช พฤษการ, ผู้แปลและเรียบเรียง). กรุงเทพฯ: ท้อป.
[4] กาญจนา รัตนธีรวิเชียร. (2555). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ วิชาอัลกอริทึมเบื้องต้น เรื่องการเขียนผังงาน สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 1(1), 99 – 110.
[5] ไพรินทร์ มีศรี และอวยพร มีศรี. (2558). การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ วิชาการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ เรื่อง การวนซ้ำ สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 10(1), 49 – 56.
[6] พัชรภรณ์ วรโชติกำจร และฐะณุพงศ์ ศรีกาฬสินธุ์. (2558). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต: ระบบการจัดการฐานข้อมูล. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 3(1), 51 – 66.
[7] กมลมาศ วงษ์ใหญ่. (2552). การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ วิชาโครงสร้างข้อมูล เรื่องสแตก สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 4(1), 141 – 148.
[8] เมษา พูลสวัสดิ์ และนวลศรี ชำนาญกิจ. (2559). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 11(3 กันยายน – ธันวาคม), 131 - 142.
[2] โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2559). เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[3] เบห์รัส เอ โฟราวซาน และโซเฟีย ชุง เฟกาน. (2549). การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ [Data communications and networking] (จักกริช พฤษการ, ผู้แปลและเรียบเรียง). กรุงเทพฯ: ท้อป.
[4] กาญจนา รัตนธีรวิเชียร. (2555). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ วิชาอัลกอริทึมเบื้องต้น เรื่องการเขียนผังงาน สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 1(1), 99 – 110.
[5] ไพรินทร์ มีศรี และอวยพร มีศรี. (2558). การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ วิชาการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ เรื่อง การวนซ้ำ สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 10(1), 49 – 56.
[6] พัชรภรณ์ วรโชติกำจร และฐะณุพงศ์ ศรีกาฬสินธุ์. (2558). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต: ระบบการจัดการฐานข้อมูล. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 3(1), 51 – 66.
[7] กมลมาศ วงษ์ใหญ่. (2552). การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ วิชาโครงสร้างข้อมูล เรื่องสแตก สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 4(1), 141 – 148.
[8] เมษา พูลสวัสดิ์ และนวลศรี ชำนาญกิจ. (2559). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 11(3 กันยายน – ธันวาคม), 131 - 142.