พัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ด้วย Mobile Learning ในรูปแบบเชิงรุก เพื่อพัฒนาศักยภาพของครูผู้สอน ในสถานการณ์โรคโควิด 19
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความครั้งนี้มุ่งเน้นการศึกษา และพัฒนาศักยภาพการสอนของครู ในสถานการณ์วิกฤตโรคโควิด 19 โดยบทเรียนออนไลน์ด้วย Mobile Learning เข้ามาประยุกต์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก สำหรับการพัฒนาจัดการเรียนการสอนของครู มีแนวการสอน 2 รูปแบบ คือ การบูรณาการเนื้อหาเชิงรุกและ Mobile Learning เป็นบทเรียนออนไลน์สำเร็จรูป (Instruction Package) ที่เรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีไร้สายและเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เรียนรู้ในรูปแบบที่ยังคงเนื้อหา หลักการทฤษฎี โดยการใช้แอปพลิเคชันจัดการช่องทางและสื่อการเรียนการสอนที่เป็นเนื้อหาวิชาที่บรรจุไว้มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยสร้างสื่อบทเรียนเนื้อหา วิชาที่ถ่ายทอดผ่านโทรศัพท์มือถือไปยังผู้เรียน ซึ่งจะช่วยเสริมการสอนให้กระชับขึ้น ครูผู้สอนจึงต้องพัฒนาศักยภาพของตนเองในการสร้างสื่อบทเรียนถ่ายทอดองค์ความรู้ให้ผู้เรียน โดยผ่านกระบวนการเรียนการสอนแบบเชิงรุก ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์จนเกิดความรู้ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า พัฒนาตนเองเต็มความสามารถ โดยมีครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก กระตุ้นเร้าใจให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ถ่ายทอดเนื้อหาตามหลักการกระบวนการเรียนรู้ทั้งหมดให้แก่ผู้เรียนผ่านสื่อการสอนบทเรียนออนไลน์ด้วย Mobile Learning จึงถือได้ว่าเป็นเครื่องมือ และวิธีการสำคัญที่ช่วยพัฒนาทักษะวิธีการสอนให้แก่ครู และพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ให้แก่ผู้เรียนได้เป็นอย่างดี
Article Details
References
[2] Tindell, D. R. & Bohlander, R. W. (2012). The Use and Abuse of Cell Phones and Text Messaging in the Classroom: A Survey of College Students. College
Teaching, 6, 1-9.
[3] ภูษิมา ภิญโญสินวัฒน์. (2563) จัดการเรียนการสอนอย่างไรในสถานการณ์โควิด-19: จากบทเรียนต่างประเทศ
สู่การจัดการเรียนรู้ของไทย https://tdri.or.th/2020/05/examples-of-teaching-and- learning-in- covid-19-pandemic/
[4] วันทนา สิงห์นา. (2560). ผลการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา เสริมด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ต่อ มโนมติลม ฟ้า อากาศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5, วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย,7(ฉบับพิเศษ), 80-93
[5] กฤตย์ษุพัช สารนอก. (2559) การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับผู้เรียนGen Z
ด้วยเทคนิคการสอนแบบ AL, การประชุมวิชาการระดับชาติประจำปี 2559 สมาคมสถาบันอุดมศึกษา เอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.)
[6] แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการ ศึกษา (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้จัดสรร) นโยบายและจุดเน้นของ
กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564. http://www.nidtep.go.th/2019/doc/00%20FullText%202564.pdf
[7] นนทลี พรธาดาวิทย์ และคณะ. (2559). การจัดการเรียนรู้แบบ Active learning. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ลเอ็ด ดูเคชั่น.
[8] อัมพร พินะสา. (2564). สพฐ. ประชุมทางไกลชี้แจงแนวทางปฏิบัติภายใต้สถานการณ์โควิด-19 สำหรับโรงเรียน และเขตพื้นที่การศึกษา https://gnews.apps.go.th/news?
news=75919
[9] อติญาณ์ ศรเกษตริน. (2543). ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม. https://cft.vanderbilt.edu/guides-sub- pages/blooms-taxonomy/
[10] สุเทพ นันทไชย, (2552). การพัฒนาศักยภาพขาราชการครูในศตวรรษที่21 ของกระทรวงศึกษาธิการ http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/docpr/ndc_2559-
2560/PDF/wpa_8062/ALL.pdf
[11] Boyatzis, R.E. (1982) The Competent Manager: A model of Effective Performance. New
York: John Wiley and Sons Inc
[12] สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ. (2547). “Competency: เครื่องมือการบริหารทที่ปฏิเสธไม่ได้”, Productivity, 9(53), 20-25
[13] สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ. (2548). แนวทางการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ด้วย Competency. กรุงเทพฯ : ศิริวัฒนา อินเตอร์พริ้นท จํากัด (มหาชน).