การพัฒนาสื่อสังคมออนไลน์สำหรับจำหน่ายผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์จากขยะมูลฝอย ตำบลหนองโดน อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างสื่อสังคมออนไลน์ในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์จากขยะมูลฝอย และ 2) ศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อสื่อสังคมออนไลน์ในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์จากขยะมูลฝอย ตำบลหนองโดน อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดชัยภูมิ จำนวน 384 คน โดยวิธีเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามในระหว่างเดือนมีนาคม พ.ศ. 2566 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า 1) การสร้างสื่อสังคมออนไลน์ในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์จากขยะมูลฝอย ด้วยเฟซบุ๊กเพจที่สามารถนำเสนอประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ วีดีโอ อินโฟกราฟิก และรูปแบบเนื้อหา ที่มีผลต่อ
การรับรู้ผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์จากขยะมูลฝอย 2) ความพึงพอใจที่มีต่อสื่อสังคมออนไลน์ในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบสื่ออยู่ในระดับมาก (= 4.38) ด้านโพสต์อยู่ในระดับมาก (= 4.33) และ ด้านข้อมูลข่าวสารอยู่ในระดับมาก (= 4.29)
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านเวชภัณฑ์ กระทรวงสาธารณสุข. (2563). ประกาศ สธ. ให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19
(COVID -19) เป็นโรคติดต่ออันตราย. จาก http://dmsic.moph.go.th/index/detail/8037.
สำนักสารนิเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2564). การเว้นระยะห่างจากสังคม (Social distancing). จาก
https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/
Nattapon Muangtum. (2564). รายงานสถิติ Thailand Digital Stat 2021. จาก
https://www.everydaymarketing.co/knowledge/thailand-digital-stat-2021-we-are-social/.
จักรกริช ปิยะ. (2557). การศึกษาการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social media) เพื่อการบริหารงานก่อสร้างกรณีศึกษา ห้างหุ้นส่วน
จำกัด เทคโนบิวเดอร์ (2001) อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. นครราชสีมา: โครงการปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี
สุรนารี.
7 สีช่วยชาวบ้าน. (2564). ชาวบ้านคัดค้านการเปิดบ่อขยะในพื้นที่ทนดมกลิ่น เหม็นกว่า 10 ปี จ. ชัยภูมิ. จาก
https://news.ch7.com/detail/480266?fbclid=IwAR1ou-Z-I8- lGcwFRd90wWnhZRiG1_5tAGcYq5osvB09UeuDJCCKPIdzHI.
สำราญ วานนท์ และรจนา เมืองแสน. (2564). รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์จากขยะมูลฝอย ตำบลหนอง
โดน อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ. ชัยภูมิ: มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.
งานประชาสัมพันธ์และโสตทัศนศึกษากลุ่มงานบริหารทั่วไป โรงพยาบาลจักราช. (2561). คู่มือการใช้งาน Facebook
เบื้องต้น. จาก https://www.ckrcup.org/webckr1/from/Facebook.pdf
We are social. (2023). Favourite Social Media Platforms. จาก https://wearesocial.com/us/blog/2023/01/
digital-2023/.
Kim, A. J., & Ko, E. (2012). Do social media marketing activities enhance customer equity? An empirical study
of luxury fashion brand. Journal of Business Research, 65(10), 1480–1486.
Kotler, P., Kartajaya, H. and Setiawan, I. (2016). Marketing 4.0: Moving from Traditional to Digital. Hoboken,
New Jersey: Wiley.
กฤษณกันต์ เกรียงทวีชัย และวศินี หนุนภักดี. (2563). ลักษณะของสื่อดิจิทัลบนเฟซบุ๊กที่มีผลต่อการ
รับรู้ ภาพลักษณ์ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ. วารสารสุทธิปริทัศน, 34(111), 197-209. จาก https://so05.tci-
thaijo.org/index.php/DPUSuthiparithatJournal/article/download/247204/168156/859371
มัสลิน ใจคุณ. (2561). การยอมรับเทคโนโลยี ความไว้วางใจ และการตลาดผ่านสังคมออนไลน์ ที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าผ่าน
ช่องทางเฟซบุ๊ก ไลฟ์ (Facebook LIVE) ของกลุ่มผู้บริโภค Generations X, Y, Z. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต).
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. นนทบุรี: เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องตน (พิมพครั้งที่ 7). กรงเทพฯ: สุวีริยาสาสน.