คุณสมบัติผู้จัดการคลังสินค้าที่พึงประสงค์ในภาคการเกษตรประเทศไทย

Main Article Content

ณัฐพงษ์ แต้มแก้ว ศุภรดา ไชยรบ สุกันตา มันทะนา ภานุเมศวร์ สุขศรีศิริวัชร วิรัช อนุชานุรักษ์ เรวัฒน์ เติมกล้า

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


            การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติผู้จัดการคลังสินค้าที่พึงประสงค์ในภาคการเกษตรประเทศไทย และเพื่อเป็นแนวทางในการทำวิจัยและพัฒนากำหนดคุณสมบัติผู้จัดการคลังสินค้าที่พึงประสงค์ในภาคการเกษตรประเทศไทย พบว่าเมื่อพิจารณาข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถกล่าวถึงสมรรถนะสำคัญของคุณสมบัติผู้จัดการคลังสินค้าของภาคการเกษตรประเทศไทย คือ คุณสมบัติด้านความรู้, ทักษะ,ความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเอง , บุคลิกลักษณะประจำตัวของบุคคล , แรงจูงใจ / เจตคติ


 


คำสำคัญ : คุณสมบัติผู้จัดการคลังสินค้า เกษตร  สมรรถนะหลัก

Article Details

บท
บทความทางวิชาการ

References

ฐาปนา บุญหล้า และคณะ. (2555) .การจัดการโลจิสติกส์ : มิติซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ฐิตารีย์ สาริกัน. (2553). ประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้า. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต,

สาขาวิชาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก.

ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2547). มารู้จัก Competency กันเถอะ. กรุงเทพมหานคร: เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

________. (2545). การบริหารงานทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ ภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

ดนัย เทียนพุฒ. (2546). Core human competencies ความสามารถปัจจัยชนะของธุรกิจ และคน. กรุงเทพฯ

บริษัทนาโกต้า จำกัด.

ดำรงค์ งามประเสริฐ. (2550). กลยุทธ์การบริหารโลจิสติกส์และโซ่อุปทานของบริษัทพีแซทคัสสัน

(ประเทศไทย). วิทยานิพนธ์วิทยาการจัดการมหาบัณฑิต, สาขาวิชาแขนงวิชาบริหารธุรกิจ

มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ดวงจันทร์ ทิพย์ปรีชา. (2548). ศักยภาพความสามารถในการบริหารทรัพยากรบุคคลทางการพยาบาล.

กรุงเทพมหานคร: พี.เอ.ลิฟวิ่ง

ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์. (2550). การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ท ครีเอชั่น.

ทองสง่า ผ่องแผ้ว. (2548). เทคนิคเดลฟาย. มหาสารคาม : ศูนย์พัฒนาทรัพยากรการศึกษา, มหาวิทยาลัย

มหาสารคาม.

ธนิต โสรัตน์. (2552). คู่มือการจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า. กรุงเทพฯ: วี-เซิร์ฟโลจิสติกส์.

สุรัสวดี ราชกุลชัย. (2543). การวางแผนและการควบคุมทางการบริหาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จามจุรี.

อนุชัย รามวรังกูร. (2550). การพัฒนาสมรรถนะนักทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมยานยนต์.

ปริญญาศิลปศาสตรดุษฏีบัณฑิต (อาชีวศึกษา), บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

อรุณ บริรักษ์. (2553). Distribution logistics: Tesco Lotus. โลจิสติกส์ไทยแลนด์. 9(97). 43-50.

อรุณ บริรักษ์ และคณะ. (2547). การบริหารการจัดการคลังสินค้าในประเทศไทย. กรุงเทพฯ :

ไอทีแอล เทรด มีเดีย.

อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์. (2547). แนวคิดเรื่องสมรรถนะ Competency: เรื่องเก่าที่เรายังหลงทาง. Chulalongkon Review, 16 (กค.-กย.), 57-52.

อุกกฤณ์ กาญจนเกตุ. (2543). การใช้ Competency ในการบริหารงานบุคคล. วารสารการบริหารคน, 21(4),

-22.

อุบลรัตน์ จันทร์เมือง. (2555). การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรวิทยาลัยการอาชีพวังสะพุง.

วารสารประชาสัมพันธ์. วิทยาลัยการอาชีพวังสะพุง 20 เมษายน 2556.

Arnauld de Nadaillac. (2003). ความหมายของสมรรถนะ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :

http:// competency.rmutp.ac.th สืบค้น 5 กุมภาพันธ์ 2557.

Boam, R. and Sparrow, P. (1992). Designing and Achieving Competency. McGraw-Hill,Reading.

Boyatzis, R.E. (1982). The competent manager: a model for effective performance. London: Wiley.

Certo, C.S. (2000). Modern Management. New Jersey : Prentice Hall.

Charles, G.P. (2002). Considerations in order picking zone configuration. Journal of Operation and Production Management, Vol. 22, No.7, pp. 793-805, Available

De Cenzo, David A. and Stephen P. Robbin. (1997). Human Resource Management. 5th ed. New York : John Wiley & Sons, Inc.

Dubois D. David, Rothwell J. William. (2004). Competency – Based Human Resource Management. Davies – Black Publishing, California.

Hair, J., Blak, W.C., Barbin, B.J., Anderson, R.E., & Tatham, R.L. (2010). Multivariate data analysis. New Jersey: Upper Sandle River, Prentice Hall, p.168-707.

James, A.T. and Jerry, D.S. (1998). The Warehouse Management Handbook. second edition, Tompkins press, pp. 823-848

Mc Clelland,D.C. (1993). Introduction to the Concept of Competence. In L.M. Spencer & S.M. Spencer, Competence at Work, Spencer (pp.1-8) New York : John Wiley & Son,Inc.

_______. (1973). Testing for competence rather than for "intelligence." American Psychologist, 28(1), 1-14