เตาเหนี่ยวนำไฟฟ้าสองเอาต์พุตสำหรับด้วยการควบคุมกำลังด้วยการปรับแรงดันอสมมาตรแบบเฟสสมดุล
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอเตาเหนี่ยวนำไฟฟ้าสองเอาต์พุตที่ปรับกำลังเอาต์พุตแยกอิสระด้วยวงจรเต็มบริดจ์ที่ควบคุมด้วยการปรับแรงดันอสมมาตรแบบเฟสสมดุลด้วยไอซี dsPIC30F2020 ขนาดกำลังรวม 1.5 กิโลวัตต์ ทำงานที่ความถี่ 35-40 กิโลเฮิรตซ์ รับไฟฟ้ากระแสสลับแบบ 1 เฟส 220 โวลต์ สามารถปรับกำลังและความร้อนที่ใช้ในการปรุงอาหารให้เป็นอิสระจากกันโดยมีสวิตช์ไอจีบีทีสร้างสัญญาณความถี่สูง และขดลวดเหนี่ยวนำให้ความร้อน โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กระหว่างเตาแม่เหล็กไฟฟ้า สามารถแสดงการปรับค่าระดับความร้อนของชุดเตาเหนี่ยวนำไฟฟ้าแบบสองเอาต์พุตได้ห้าระดับควบคุมด้วยการปรับแรงดันอสมมาตรแบบเฟสสมดุลเพื่อแบ่งกระแสไหลผ่านสวิตช์หลัก 2 ตัว ให้ใกล้เคียงกันซึ่งเพิ่มประสิทธิภาพได้ถึง 8 % และแบ่งกระแสได้ต่างกันไม่เกิน 20% ขึ้นกับการใช้งาน
Article Details
กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความยินดีที่จะรับบทความจากอาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสาขาต่างๆ ที่มีการบูรณาการข้ามศาสตร์ที่เกี่ยวข้องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพแต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา หรือข้อคิดเห็นใดๆ ของบทความในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
[2] José MB, Fernando M, José RG, et al. A Two - Output Series-Resonant Inverter for Induction – Heating Cooking Appliances. IEEE Transaction on Industrial Electronics. 2005; 20(4);815 - 22.
[3] Pansuwan T, Nuchkamnead R, Chuchaloem K, et al . Bidirectional Converter with Duty Cycle Control using Solar Energy for CCTV. Electrical Engineering Network of Rajamangala University of Technology EENET 7th; 2015 May 27-29; Chonburi, Thailand. Bangkok; 2015.
[4] Kim JG, Park SW, Kim YH, et al. Bidirectional Soft Switching DC-DC Converter. 2010 International Power Electronics Conference. 2010 June 21-24; Japan; 2010.
[5] Chudjuarjeen S, Jayasuriya S, Yachiangkam S, et al. Analysis of Measurement Delay Errors in a DC-DC Buck-Boost Converter using Stochastic Differential Equations. 37th Annual Conference of the IEEE Industrial Electronics Society (IECON 2011). 2011 Nov 7-10; Melbourne, Australia; 2011.
[6] Chuang YC. High-Efficiency ZCS Buck Converter for Rechargeable Batteries. IEEE Trans Ind Electron. 2010; 57(7):2463–72.
[7] Cheng HL, Lin CW .Design and Implementation of a High-Power Factor LED Driver with Zero-Voltage Switching-On Characteristics. IEEE Trans Power Electron. 2014; 9(9):4949–58.
[8] Inoue S, Akagi H. A bidirectional dc–dc converter for an energy storage system with galvanic isolation. IEEE Trans Power Electron. 2007; 22(6): 2299–2306.
[9] Zhu L. A novel soft-commutating isolated boost full-bridge ZVSPWM DCDC converter for bidirectional high power applications. IEEE Trans Power Electron. 2006; 2 (2):422–29.
[10] Lee J, Jo J, Choi S, et al. A 10-kw SOFC low-voltage battery hybrid power conditioning system for residential use. IEEE Trans Energ Convers. 2006; 21(2):575–85.
[11] Chiu HJ, Lin LW. A bidirectional DCDC converter for fuel cell electric vehicle driving system. IEEE Trans Power Electron. 2006; 21(4):950–58.
[12] Zhao Q, Lee FC. High-efficiency, high step-up DCDC converters. IEEE Trans Power Electron. 2003; 18(1):65–73.
[13] Schuch L, Rech C, Hey HL, et al. Analysis and design of a new high-efficiency bidirectional integrated ZVT PWM converter for DC-bus and battery-bank interface. IEEE Trans Ind Appl. 2006; 42(5):1321–32.
[14] Tan NM, Abe T, Akagi H. Design and performance of a bidirectional isolated DC-DC converter for a battery energy storage system. IEEE Trans Power Electron. 2012; 27(3):1237-1248.
[15] Wang K, Lin CY, Zhu L, et al. Bidirectional dc/dc converters for fuel cell systems. IEEE Trans Power Electron.1998; 21(4):47–51.
[16] Peng FS, Li H, Su GJ, et al. A new ZVS bidirectional DC-DC converter for fuel cell and battery application. IEEE Trans Power Electron.2004; 19(1):54 – 65.
[17] Inoue S, Akagi H. A bidirectional dc-dc converter for an energy storage system with galvanic isolation. IEEE Trans Power Electron.2007; 22(6):2299-2306.