ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการทำงานต่ำระดับของประเทศไทยในปี 2559

ผู้แต่ง

  • กัญญาวีณ์ สร้อยแก้ว สาขาวิชาวิทยาการจัดการสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • บังอร กุมพล ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

การทำงานต่ำระดับ, การถดถอยลอจิสติกแบบหลายกลุ่ม, เส้นโค้ง ROC

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการทำงานต่ำระดับของประเทศไทย โดยใช้การ วิเคราะห์การถดถอยลอจิสติกแบบหลายกลุ่ม จากข้อมูลโครงการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร พ.ศ. 2559 ซึ่งดำเนิน การสำรวจโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ โดยทำการศึกษาการทำงานต่ำระดับ 3 กลุ่ม ได้แก่ การทำ งานต่ำระดับ ด้านการศึกษา การทำงานต่ำระดับด้านรายได้ และการทำงานต่ำระดับด้านเวลา ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานต่ำระดับ ของประเทศไทยมี 11 ตัวแปร คือ อายุ จำนวนชั่วโมงการทำงาน รายได้ ภาค ประเภทของพื้นที่อาศัย เพศ สถานภาพสมรส สถานภาพการทำงาน ระดับการศึกษา ลักษณะที่สำคัญทางเศรษฐกิจ และอาชีพ โดยมีความถูกต้องของการพยากรณ์ ร้อยละ 96.60 ส่วนการวิเคราะห์ความไวด้วยเส้นโค้ง ROC พบว่ามีความถูกต้องสูง

References

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. การทำงานต่ำระดับของประชากร. [อินเตอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 25 ก.ค. 2560]. เข้าถึงได้จาก: http://www.nso.go.th/sites/2014en/Pages/Underemployment-Survey.aspx

Allan BA, Tay L, Sterling HM. Construction and validation of the Subjective Underemployment Scales (SUS). J Vocat Behav 2017;99:93-106.

Eamon MK, Wu CF. Effects of unemployment and underemployment on material hardship in single-mother families. J Childyouth 2011;33(2):233-41.

De Anda RM, Sobczak M. Underemployment among Mexican-origin women. Soc Sci J 2011;48(4):621-9.

เพ็ญพร ธีระสวัสดิ์, พัฒนาวดี ชูโต, รศรินทร์ เกรย์, รุ่งรัตน์ โกวรรธนะกุล. โครงการการทำงานต่ำระดับของแรงงานไทย (RG01/0005/2544). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.); 2547.

กระทรวงแรงงาน. อัตราค่าจ้าง. [อินเตอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 25 ก.ค. 2561]. เข้าถึงได้จาก: http://www.mol.go.th/employee/interesting_information/4131

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากร จำแนกตามกล่มุ อายุและเพศ ปีการศึกษา 2552-2559. สถิติการศึกษาดัชนีทางการศึกษา[อินเตอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 25 ก.ค. 2561]. เข้าถึงได้จาก: http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/03.aspx

ธนาคารแห่งประเทศไทย. เครื่องชี้เศรษฐกิจมหภาคของไทย. [อินเตอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 25 ก.ค. 2561]. เข้าถึงได้จาก: http://www2.bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?reportID=409

Tabanick BG, Fidell LS. Using multivariate statistics. 6th ed. Los Angeles: Pearson Education, Inc.; 2014.

กัลยา วานิชบัญชา. การวิเคราะห์ตัวแปรหลายตัวด้วย SPSS for Windows. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2544.

Slack T, Jensen L. Underemployment across immigrant generations. J Soc Sci Res 2007;36 (4):1415-30.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. การสำรวจการย้ายถิ่นของประชากร พ.ศ. 2559. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ; 2560.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-28

How to Cite

สร้อยแก้ว ก., & กุมพล บ. (2018). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการทำงานต่ำระดับของประเทศไทยในปี 2559. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 4(2), 50–65. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/scihcu/article/view/243764