การพัฒนาสื่อวิดีโออินโฟกราฟิกการจัดการจัดการความรู้ เรื่องเขียนโครงร่างงานวิจัยอย่างไรให้ได้ทุน

Main Article Content

ชลิต กังวาราวุฒิ
นันทรัตน์ กลิ่นหอม
สุธีธัช วัชรสกุณี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ  1) เพื่อสกัดองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้เรื่องเขียนโครงร่างงานวิจัยอย่างไรให้ได้ทุน 2) พัฒนาและหาคุณภาพของสื่อวิดีโออินโฟกราฟิกการจัดการความรู้เรื่องเขียนโครงร่างงานวิจัยอย่างไรให้ได้ทุน และ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อสื่อวิดีโออินโฟกราฟิกการจัดการความรู้ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อจำนวน 10 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง และกลุ่มตัวอย่างสำหรับการประเมินความพึงพอใจสื่อประกอบด้วยอาจารย์และนักวิจัยรุ่นใหม่จำนวน 60 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบสมัครใจ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย (1) แบบสกัดองค์ความรู้  (2) การพัฒนาสื่อวิดีโออินโฟกราฟิกการจัดการจัดการ (3) แบบประเมินคุณภาพของสื่อแบบประเมินมาตรวัดค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ เฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


             ผลการวิจัยพบว่า ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหามีความพึงพอใจต่อการสกัดองค์ความรู้และนำเสนอเนื้อหาโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 4.03 ผู้เชี่ยวชาญมีความพึงพอใจต่อการออกแบบและพัฒนาสื่อในด้านการนำเสนอ ภาพ สี เสียงประกอบและการเชื่อมโยงของเนื้อหา โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 4.06  และกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นอาจารย์และนักวิจัยมีความพึงพอใจด้านการนำเสนอเนื้อหา เฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 4.1 ด้านการสื่อวีดิโออินโฟกราฟิก เฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 4.11 โดยมีข้อเสนอแนะสร้างสื่ออินโฟกราฟฟิกให้มีลักษณะสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนมากยิ่งขึ้น

Article Details

How to Cite
[1]
กังวาราวุฒิ ช. ., กลิ่นหอม น., และ วัชรสกุณี ส. ., “การพัฒนาสื่อวิดีโออินโฟกราฟิกการจัดการจัดการความรู้ เรื่องเขียนโครงร่างงานวิจัยอย่างไรให้ได้ทุน”, JSCI-SBU, ปี 1, ฉบับที่ 1, น. 1–17, เม.ย. 2021.
บท
บทความวิจัย

References

[1] Hyperakt’s Josh Smith.(2558). 10 Steps To Designing An Amazing Infographic. [online] , Available: https://www.fastcompany.com/1670019/10-steps-to-designing-an-amazing-infographic [Accessed: Dec. 10, 2020]
[2] Likert, Rensis. (1967). “The Method of Constructing and Attitude Scale”. In Reading in Fishbeic,M (Ed.), Attitude Theory and Measurement (pp. 90-95). New York: Wiley & Son.
[3] McGriff, Steven J. (2000). Instructional System Design (ISD): Using the ADDIE Model. Instructional Design Models. 226(14): 1-2.
[4] M. suchart.2009.Policy to promote university research for excellence. Academic Journal Buriram Rajabhat University.(January-June 2009)
[5] N. Supaporn,I. Sayamon,I Supot. (2019).The development of Static infographic instruction media to develop learning achievement of Mathayom suksa one students .Journal (Education and Communication Technology) Vol16,January to June.
[6] P. Pornpapassorn,T. Kultida,M. Sopol,N. Kanokwan,R.Saruta,P. Noppawit.(2017).The Development of Interactive Infographic Video for Social Media Platform Entitled “The Production Process of Entertainment Television Programs of Mono Broadcast Company Limited”.Siam Communication Review Vol.16 Issue 21.
[7] P.Panomwan,T. Naruemon. (2019).DEVELOPMENT OF INFOGRAPHIC MEDIA BASED ON TRANSFER OF LEARNING ON THE TOPIC OF SAVING FOR THE FUTURE OF PRIMARY 6 STUDENTS. Journal of Graduate Studies Valaya Alongkorn Rajabhat University Vol. 13 No. 3 (September – December 2019)
[8] P. Vicharn. (2005). Knowledge management and public administration of Thailand. Bangkok: The Knowledge Management Institute.
[9] S. Boonchom. (2002). Introduction to Research. (7th ed.). Bangkok: Suveeriyasan.
[10] S. Natthapong. (2017).The Role of Communication Infographics in Thai Society.Vol. 11 No.2 (July - December 2017)
[11] T. Jongrak. (2015). Infographics.[Online] Available: http://www.krujongrak.com/ infographics [Accessed: Dec. 10, 2020]