เครื่องบำบัดน้ำเสียโดยอาศัยการเพิ่มอากาศแบบหัวพ่นควบคุมผ่านอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง โดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนาเป็นการต่อยอดและดัดแปลงนวัตกรรมหรืองานวิจัยให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนาเครื่องบำบัดน้ำเสียโดยอาศัยการเพิ่มอากาศแบบหัวพ่น 10 หัวโดยใช้ทุ่นลอยแบบโฟมควบคุมผ่านอินเทอร์เน็ตสรรพสิ่งโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์โดยมีการสั่งการเปิด-ปิด ผ่านแอพพลิเคชั่น Blynk สามารถสรุปการทำงาน ได้ดังต่อไปนี้ (1) สามารถใช้บำบัดสภาพน้ำที่มีค่า pH สูงกว่าปกติได้โดยพ่นน้ำออกมา (2) สามารถควบคุมการเปิด-ปิด ผ่านแอพพลิเคชั่น (3) ใช้เซนเซอร์ตรวจรับและวัดค่าน้ำได้ (4) สามารถวัดค่าน้ำได้โดยตรงเป็นแบบเรียลไทม์สามารถจุ่มน้ำได้ตลอดเวลา (5) ควบคุมการเปิด-ปิด ผ่านแอพพลิเคชั่นได้ (6) สามารถรับค่าจากเซนเซอร์ได้โดยใช้เวลาประมวลผล 1 วินาทีเพื่อรับค่าตัวเลขจากการประมวลผลของเซนเซอร์เพื่อแสดงผ่านหน้าจอของแอพพลิเคชั่น และ (7) การจ่ายไฟของแบตเตอรี่ แบตเตอรี่มีพลังงานทั้งหมด 12.7 V ระยะเวลาการใช้งานจากพลังงานเต็มจนถึงพลังงานหมดมีระยะเวลาการใช้งาน 3 ชั่วโมง เฉลี่ย 30 นาที แบตเตอรี่จะหมดไปประมาณ 0.5 V. การทำทดสอบเครื่องบำบัดน้ำเสียประสิทธิภาพที่ได้มาอยู่ในระดับดี เพราะในการทดสอบค่าความเป็น กรด – ด่าง ลดลงอย่างเห็นได้ชัดเจนคิดเป็นเปอร์เซ็นต์จะอยู่ในระดับ 80 – 90 เปอร์เซ็นต์
คำสำคัญ : เครื่องบำบัดน้ำเสีย,อินเทอร์เน็ตสรรพสิ่ง,พลังงานแสงอาทิตย์
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์และเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก
References
[1] B. Umaporn Bophimai,L. Nikom ,W. Asada,S.Teangtum.(2020).DEVELOPMENT OF ORGANIC INTELLIGENT TECHNOLOGY SYSTEM.Journal of MCU Nakhondhat, Vol.7 No.11 (November 2020)
[2] Department of Alternative Energy Development and Efficiency (DEDE) Ministry of Energy.(2016).2559.Handbook for the development and investment in renewable energy production set 2 Solar energy.[Online] Available: http://www.e-lib.dede.go.th [Accessed: Oct. 20, 2020]
[3] Department of Mechanical Engineering,King Mongkut's University of Technology Thonburi .(2010).Documentation for the 2nd Fish Robot Training Camp . [Online] Available: http://nstda.or.th/sciencecamp/th/file/74669288HF4GJSO36.pdf [Accessed: Oct. 10, 2020]
[4] K. Jamjuree Kulyot,C. Silnarong.Wireless Light Switch Prototype with an Android Application.4th National Academic Conference, Kamphaeng Phet Rajabhat University Research Institute,
22 December 2017.
[5] Likert, Rensis. (1967). “The Method of Constructing and Attitude Scale”. In Reading in Fishbeic,M (Ed.), Attitude Theory and Measurement (pp. 90-95). New York: Wiley & Son.
[6] Office of The National Broadcasting and Telecommunications Commission.(2017). Internet of Things and Thailand 4.0.This article is adapted from the article of the Secretary-General of the NBTC's Technical Support Working Group, Quarter 3, 2017.
[7] S. Boonchom. (2002). Introduction to Research. (7th ed.). Bangkok: Suveeriyasan.