การลดของเสีย การลดของเสียในกระบวนการผลิตแผ่นวงจรพิมพ์ กรณีศึกษา ผู้ผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์แห่งหนึ่งในประเทศไทย บทความวิจัย
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดของเสียในกระบวนการผลิตแผ่นวงจรพิมพ์ โดยประยุกต์ใช้เครื่องมือคุณภาพ 7 ประการ จากปัญหาความสูญเปล่าประเภทของเสียในกระบวนการผลิตแผ่นวงจรพิมพ์ โดยของเสียมีลักษณะคือ แผ่นรองที่เป็นชิ้นส่วนประกอบเข้ากับแผ่นวงจรพิมพ์มีรอยขีดข่วน จึงวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาด้วยแผนภูมิแสดงเหตุและผล ร่วมกับการวิเคราะห์รากเหง้าของปัญหาด้วยเทคนิคการตั้งคำถาม “ทำไม” พบสาเหตุหลักที่สามารถนำมาแก้ไขได้ทันที คือ สาเหตุที่เกิดจากเครื่องจักรที่แผ่นรองวงจรพิมพ์ได้รับการสัมผัสกับเครื่องโปรแกรมขณะทดสอบการใช้งานของแผ่นวงจรพิมพ์ เพราะมีการใส่แผ่นวงจรพิมพ์เข้าไปพร้อมกันหลายแผ่นพร้อมกัน จึงทำให้แผ่นรองเกิดรอยขีดข่วน ดังนั้นจึงได้ทำการแก้ไขโดยออกแบบและสร้างแผ่นรอง เพื่อนำมารองป้องกันรอยขีดข่วน และสามารถใช้งานร่วมกับเครื่องโปรแกรมทดสอบการใช้งานของแผ่นวงจรพิมพ์ได้อย่างเหมาะสม หลังการแก้ไขปรับปรุงพบว่าของเสียเดิมจากร้อยละ 13.45 ของจำนวนการผลิต ลดเหลือร้อยละ 0.18 ของจำนวนที่ผลิต
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์และเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก
References
Krungsri Research Center, "Electronics Industry Trends 2021 - 2023," [Online].. Available: https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/Hi-tech-Industries/Electronics/IO/io-Electronics-21.[Accessed: March 20, 2022].
Office of Industrial Economics, "Electronics Industry Q4 2021," [Online]. Available: https://www.mreport.co.th/news/statistic-and-ranking/310-electronics-industry-2021-Q3-Q4. [Accessed: March 20, 2022].
Mary Poppendieck, “7 Wastes,” [Online]. Available: http://www.moro.co.th/the-7-wastes. [Accessed: March 28, 2022].
K. Pari, “7 Wastes,” [Online]. Available: https://greedisgoods.com/7-waste. [Accessed: March 28, 2022].
FDI.,“7 Wastes,” [Online]. Available: https://fdirecruit.co.th/7-waste. [Accessed: March 31, 2022].
Thanayutsite, “7 QC Tools,” [Online]. Available: https://thanayutsite.wordpress.com/. [Accessed: April 1, 2022].
K. Chantarasenar, “Why Why Analysis,” [Online]. Available: https://leantpm.com/2019/03/02/why-why-analysis. [Accessed: April 1, 2022].
S. Vongpeang, A. Prasanjai, "Application of Taguchi Method for Defect Reduce Assembly Process on Printed Circuit Board A Case Study of An Electronics Part Factory," TNI Journal of Engineering and Technology, Vol.7 No.2, pp 26-35, July – December, 2019.
M. Lorsunnee, "Productivity Improvement in a Tuna Factory," Master of Engineering (Engineering Management), Siam University, Bangkok, Thailand, 2018.
S. Utayapirunrak, "Waste reduction in 3D print manufacturing," Master of Engineering (Engineering Management), Siam University, Bangkok, Thailand, 2018.
Kaoru Ishikawa., “Cause-and-Effect Diagram,” Tokyo University, Tokyo, Japan, 1953.
A. Chumsiri et al.,"Reduction of waste in the production process of automotive parts. (Rubber injection parts)," The 2nd Conference on Innovation Engineering and Technology for Economy and Society , Kasem Bundit University, Romklao Campus, December 16, 2018, pp. 69-75.
S. Mekboon and J. Plongmai ,"Defects Reduction in Polymer Solid Capacitor Production Process," Kasem Bundit Engineering Journal, Vol.7 No.1 ,pp.105-103, January-June 2017.