การประยุกต์การแจกแจงอคัชสองพารามิเตอร์สำหรับแผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้นำเสนอการพัฒนาแผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับภายใต้การแจกแจงอคัชสองพารามิเตอร์และการทดสอบอายุการใช้งานที่กำหนด โดยนำเสนอการคำนวณขนาดตัวอย่างต่ำสุดสำหรับการทดสอบอายุการใช้งานของสินค้า ฟังก์ชันลักษณะเฉพาะปฏิบัติการ ค่าความเสี่ยงของผู้ผลิตสำหรับแผนการสุ่มตัวอย่างที่พัฒนาขึ้น การประยุกต์กับข้อมูลจริง พร้อมเปรียบเทียบแผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับที่พัฒนาขึ้นกับแผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับภายใต้การแจกแจงอคัชพารามิเตอร์เดียว ผลการศึกษาพบว่า แผนการสุ่มตัวอย่างที่พัฒนาขึ้นมานั้นมีประสิทธิภาพในการตัดสินใจที่จะยอมรับหรือปฏิเสธลอทสินค้า
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความยินดีที่จะรับบทความจากอาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสาขาต่างๆ ที่มีการบูรณาการข้ามศาสตร์ที่เกี่ยวข้องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เขียนเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ซึ่งผลงานวิชาการที่ส่งมาขอตีพิมพ์ต้องไม่เคยเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์อื่นใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิและได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
ข้อความที่ปรากฏอยู่ในแต่ละบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพแต่อย่างใด ความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละบทความเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา หรือข้อคิดเห็นใดๆ ของบทความในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร
References
Aslam M, Azam M, Jun C-H. A mixed repetitive sampling plan based on process capability index. Appl Math Model. 2013 ;37(24) : 10027–35.
Sobel M, Tischendrof JA. Acceptance Sampling with new life test objectives. Proceedings of fifth National Symposium on Reliability and Quality Control. Philadelphia Pennsylvania.1959; 108-18.
Kantam RRL, Rosaiah K. Rao GS. Acceptance sampling based on life tests: log- logistic model. J. Appl. Statist. 2001; 28:121-8.
Al-Omari AIF, Koyuncu N, Alanzi ARA. New acceptance sampling plans based on truncated life tests for Akash distribution with an application to electric carts data. IEE Access. 2020: 201393-403.
Shanker R. Akash distribution and its applications. Int j probab stat. 2015; 4(3): 65–75.
Shanker R, Shukla KK. On two-parameter akash distribution. Biom. biostat. Int j. 2017; 6(5):416-25.
Al-Nasser AD, Al-Omari AI. Acceptance sampling plan based on truncated life tests for exponentiated Frechet distribution. J Statist Manage Syst. 2013; 16(1):13-24.
Baklizi A, El Masri AEQ. Acceptance sampling based on truncated life tests in the Birnbaum Saunders model. Risk Anal. 2004; 24(6):1453-7.
Zimmer WJ, Keats JB, Wang FK. The burr XII distribution in reliability analysis. J Qual Technol. 1998; 30(4): 386-94.
Gui W, Aslam M. Acceptance sampling plans based on truncated life tests for weighted exponential distribution. Commun Statist Simul Comput. 2017; 46(3): 2138-51.
Lio YL, Tsai T.-R., Wu S.-J. Acceptance sampling plans from truncated life tests based on the burr type XII percentiles. J Chin Inst Ind Engineers.2010; 27(4): 270-80.
Pushpa Gupta L, Gupta RC, Lvin SJ. Numerical methods for the maximum likelihood estimation of Weibull parameters. J Stat Comput Simul. 1998; 62(1-2):1–7.