การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบความสัมพันธ์ของคน ในครอบครัว 5 ขั้นตอน เพื่อแก้ปัญหาผลการเรียน 0 และ ร ในรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 The Development of Basic English Learning Activities for Monitoring and Solving Student’s Problem of Getting “0” and “I” Grades of Mathayomsuksa 3 Students through Parents Rewards Relationships 5 STEPs (P2R-5 STEPs) Model
Main Article Content
บทคัดย่อ
The purposes of this research was to develop and investigate the effectiveness of
the P2R-5 STEPs model; and monitoring and solve student’s problem of getting 0 and I,
English Basic for Mathayomsuksa 3 students. The sample of this study was 116 Mathayomsuksa 3/8 , 3/9 , 3/10 students in Mukdahan School during the second semester of 2021 academic year. The students were selected by Cluster Random Sampling. The instruments used for data collecting were the P2R-5 STEP model, a learning management plan, and an achievement test. Statistics used for data analysis were percentage, mean, and S.D.
The results revealed that: the P2R-5 STEPs model, and monitoring and solving student’s problem of getting 0 and I, English for Basic for Mathayomsuksa 3 students was suitable and was rated high to highest. The learning management plan was of good quality. The observations of teaching and interviews showed the students were willing to learn. There is a good relationship in the family that creates more love and warmth in the family.
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการคุรุสภาวารสารไม่จาเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนาทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทาการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ก่อนเท่านั้น
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. ก ร ุ ง เ ท พ ฯ :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
กรมวิชาการ. (2545). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2544 คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่ม
สาระภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การการรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
จุราภรณ์ ปฐมวงษ์. (2565). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อส่งเสริมทักษะการพูด
สนทนาภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. Journal of Modern Learning
Development. Vol. 7No. 4May2022.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2563). เสริมสมรรถนะออกแบบและเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลังอย่าง
Easy : New Normal. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2564. สืบค้นจาก https://www.educathai.com/
storage/documents/O1I2twbJNcz00klCsX9RAuIpQ6lignsOBDESAsC2.pdf
วรพงษ์ แสงประเสริฐ. (2560). การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อส่งเสริม
ความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย.
วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ ศรีนครินทรวิโรฒ. Vol 18, No 1.