แรงจูงใจในการบริหารสถานศึกษากับการบริหารสถานศึกษาศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขต 7 Motivation of School Administration and the 21st Century School Administration of School Administrators under the Office of Phrapariyattidhamma General Education Area 7

Main Article Content

กิตติ สมอุ่มจารย์

บทคัดย่อ

The objectives of this thesis were as follows 1) to study level of motivation of school administration and the 21st century school administration of school administrators. 2) to compare the motivation of school administration and the 21st century school administration of school administrators. 3) to examine the relationship between motivation of school administration and the 21st century school administration of school administrators. The researcher collected the data from administrators totaling 88 persons.


               The research findings revealed as follows: 1) The motivation of school administration and The 21st century school administration of school administrators overall and in each aspect were in high level. 2) The comparison of motivation of school administration of school administrators classified by status, education level, position and work experience found that the motivation of school administration and The 21st century school administration of school administrators classified by statuswere statistically significant different at 0.05, but the education level, position and work experience were not significantly different and 3) The relationship between motivation of school administration and the 21st century school administration of school administrators was statistically significant at the 0.01 level in both overall and individual aspects.


 


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ชุติกาญจน์ สลาหลง. (2563). ความต้องการและความควาดหวังในการพัฒนาตนเองของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 จังหวัดตรัง. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยทักษิณ.

ณัฐดนัย ไทยถาวร. (2561). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนระดับประถมศึกษา จังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, คณะอุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ณัฐธิดา ห้อมทอง และคณะ. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้แรงจูงใจของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนรัตน์บุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33. EDUCATION JOURNAL, คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 4(2), น. 50-62.

ธนพรรธ อนุเวช. (2564). แนวทางการเสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

บุญส่ง กรุงชาลี. (2561). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, คณะครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

ประกาศ เรื่อง ยุทธศาสตร์ชาติ (2561 – 2580). (2561, 13 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 135 ตอนที่ 82 ก. หน้าที่ 8 – 9.

พระมหาธงชัย จิรสีโล (สงวนเรือง). (2557). การบริหารงานวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ไพบูลย์ ช่างเรียน และพิชิต พิทักษ์เทพสมบัติ. (2544). องค์การในอนาคต (Organization of Future).คณะรัฐประศาสนศาสตร์, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เสมาธรรม.

รัตนศักดิ์ เนียมโสภา. (2560). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานศูนย์ติดตั้งและบำรุงรักษาอุปกรณ์ตอนนอก บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

รัตติกาล โสวะภาส และคณะ. (2563). การพัฒนาองค์การให้มีศักยภาพการทำงานสูงในศตวรรษที่ 21.วารสารวไลยลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 10(2), 229-239.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2556). กระบวนทัศน์ทางการศึกษา กรณีทัศนะต่อการศึกษาศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธิ์.

สมหวัง ว่องไวไพศาล. (2558). การบริหารโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครในศตวรรษที่ 21. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สิริพร ราศรี และจีรนาถ ภูริเศวตกำจร. (2564). คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7. การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา, ครั้งที่ 8. น. 106.

สุกัญญา แชมช้อย. (2562). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Alderfer, C. P. (1975). Existence: Relatedness and growth, human needs in organizational setting. New York: Free Press.

Deci, E. L., Ryan, R. M. (2000). The ‘what’ and ‘why’ of goal pursuits: Human needs and the self-determination of behavior. Psychological Inquiry.

Dennis E. Hinkle. (1998). Applied Statistics for the Behavior Sciences. (4th ed), New York: Houghton Mifflin.

Jacob L. O., and Regis K. Z.. (2015). Result Oriented Work Environment (ROWE). School of Management and Entrepreneurship, Kyambogo University.

John W. Best. (1970). Research in Education. New Jersey: Prentice-Hall Inc.

Kotler, John P. (1996). Leader Change. Harvard Business School.

Likert, Rensis. (1961). New Pattern of Management. (p.223). New York: McGrrw-hill Book,Co.

White, R. (1959). Motivation reconsidered: The concept of competence. Psychological Review.

William, J. Reddin. (1970). Managerial Effectiveness. New York: McGraw-Hill Book Co.