การพัฒนาเยาวชนไทยด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้และการประเมินทักษะการปฏิบัติ Fostering the efficiency of learning management and assessment of practical skills for Thai youth development

Main Article Content

นงลักษณ์ มโนวลัยเลา
รังสรรค์ วิบูลย์อุปถัมภ์

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอวิธีเพิ่มประสิทธิภาพในการสอน ความสำคัญของการประเมินทักษะแนวทางการประเมินทักษะโดยใช้รูบริค (เกณฑ์การให้คะแนน) และแนวทางการพัฒนาเกณฑ์การประเมินทักษะ โดยใช้รูบริค เพื่อให้เกิดการประเมินทักษะที่สะท้อนผลลัพธ์การเรียนรู้ที่เป็นผลมาจากการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะที่สำคัญสำหรับศตวรรษที่ 21 โดยมีรูปแบบการพัฒนาจากการใช้ชุดนวัตกรรมสังคม (Social Innovation Toolkit: SIT KIT) โดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking Process) เพื่อพัฒนาทักษะ 6 ด้าน ได้แก่ ทักษะการสื่อสาร ทักษะการทำงานเป็นทีม ทักษะการสืบสอบ ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะการแก้ปัญหา การฟื้นคืนสภาพ และความสำคัญของการประเมินทักษะโดยใช้เกณฑ์การประเมินรูบริค และแนวทางการประเมินโดยใช้เกณฑ์การประเมินรูบริค และขั้นตอนการพัฒนาเกณฑ์การประเมินรูบริคเพื่อให้สามารถวัดและประเมินทักษะของผู้เรียน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2565). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566. https://www.vec.go.th/Portals/0/%202566.pdf

ไพฑูรย์ นันตะสุคนธ์ และวัลลภา อยู่ทอง. (2557). หลักสูตรการอาชีวศึกษาและการนําไปใช้. หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.

แม็คเอ็ดดูเคชั่น, บริษัท จำกัด. (2557). ครูแห่งศตวรรษที่ 21. บริษัทแม็คเอ็ดดูเคชั่น จํากัด.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2562). หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง. http://bsq2.vec.go.th/DOCUMENT/การพัฒนาหลักสูตร/2.PDF

สำราญ กำจัดภัย. (2565). การใช้รูบริกส์ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน, 14(38), 211-233.

Bennett, C. (2016). Assessment rubrics: Thinking inside the boxes. The International Journal of Higher Education in the Social Sciences, 9(1), 50-72.

Brookhart, S. M. (2013). How to create and use rubrics for formative assessment and grading. ASCD. Practical guideline for designing rubrics, University of Queensland Australia. https://elearning.uq.edu.au/GUIDES/TURNITIN/PRACTICAL-GUIDELINES-DESIGNING-RUBRICS

Buasuwan, P., Suebnusorn, W., Butkatunyoo, O., Manowaluilou, N., Kaewchinda, M., Lalitpasan, U., et al. (2021). Skills framework for students in basic education levels. Thailand: A white paper report to UNICEF.

Buasuwan, P., Suebnusorn, W., Butkatunyoo, O., Manowaluilou, N., Kaewchinda, M., Lalitpasan, U., et al. (2022). Re-envision a “skills framework” to meet 21st century demands: What do young people need? Frontiers in Education. https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/feduc.2022.1004748/full

Guliker, J., Brinkman, D. & Runhaar, P. (2019). Using a rubric to grasp intercultural competence development in vocational education. Journal of Vocational Education & Training, 73(1), 47-70.

James Cook University. (2018). Developing Assessment Rubrics. James Cook University, Australia. https://www.jcu.edu.au/__DATA/ASSETS/PDF_FILE/0009/496269/DEVELOPING-ASSESSMENT-RUBRICS.PDF

Partnership for 21st Century Skills. (2009). Framework for 21st Century learning. Washington. http://www.p21.org

Seymour, D. (2005). Learning outcomes and assessment: Developing assessment criteria for master-level dissertations. Brookes E-Journal of Learning and Teaching, 1(2), 1-8. https://www.ualberta.ca/centre-for-teaching-and-learning/media-library/learning-outcomes/program-learning-outcomes-for-thesis-based-programs-july2019.pdf

Stevens, D. & Levi, A. (2005). Introduction to rubrics. Sterling, VA: Stylus Publishing.