การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD The Development of Mathematics Learning Activities on the Topic of Probability of Mathayomsuksa 3 Students Using the Student Team Achievement Division (STAD)
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะเป็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะเป็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD ระหว่างหลังเรียนและก่อนเรียน และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะเป็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/5 โรงเรียนราชดำริ จำนวน 27 คน เครื่องมือวิจัยได้แก่ แผนการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ และแบบสำรวจความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (M) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการทดสอบแบบ dependent t-test
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการคุรุสภาวารสารไม่จาเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนาทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทาการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ก่อนเท่านั้น
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์, 5(1),
-20.
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2566). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565. ค้นหาเมื่อ 18 สิงหาคม
, จาก https://www.niets.or.th/th/catalog/view/497
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2546). การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มวิทยาศาสตร์ หลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). ผลการประเมิน PISA 2018: นักเรียนไทยวัย 15 ปี
รู้และทำอะไรได้บ้าง. ค้นหาเมื่อ 18 สิงหาคม 2566, จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/news-12/
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2564). การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และทักษะที่จำเป็น
ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สุธิลัดดา นาไชย. (2561). การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสรัคติวิสต์ร่วมกับ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (คณิตศาสตร์), มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สุริยัน เขตบรรจง.(2559). การพัฒนากิจกรรมการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่องการบวก ลบ
เศษส่วน โดยใช้การเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD. วารสารครุศาสตร์, 44(4).
สิริพร ทิพย์คง. (2545). หลักสูตรและการสอนคณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: พัฒนาคุณภาพวิชาการ.
อัมพร ม้าคะนอง. (2557). คณิตศาสตร์การสอนและการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ตำราและเอกสารทาง
วิชาการ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Bruner, J. S. (1993). Explaining and interpreting: Two ways of using mind. In G. Harman (Ed.),
Conceptions of the human mind: Essays in honor of George Miller (pp. 28-29). Hillsdale, NJ: Lawrence Erlbaum.
Slavin, R. E. (1995). Cooperative learning: Theory, research, and practice (2nd Ed.).
Boston:Allyn &
Bacon.
Skinner, B.F. (1953). Science and Human Behavior. New York: Free Press.