การศึกษาวิธีปฏิบัติที่ดีในการหนุนเสริมด้วย S.A.V.E. Model สำหรับโรงเรียนในโครงการครูรักษ์ถิ่น A Study of Good Practices in Reinforcing Schools in Kru Rak Thin Project Using S.A.V.E. Model
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวิธีปฏิบัติที่ดีของการหนุนเสริมโรงเรียนในโครงการครูรักษ์ถิ่น ด้วย S.A.V.E Model และ 2) ศึกษาวิธีปฏิบัติที่ดีของโรงเรียนในโครงการครูรักษ์ถิ่นที่ได้รับการหนุนเสริมด้วย S.A.V.E Model กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ทีมหนุนเสริม จำนวน 12 คน และโรงเรียนในโครงการครูรักษ์ถิ่น
จำนวน 4 โรงเรียน ใน 4 ภูมิภาค ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง มีผู้ให้ข้อมูลแต่ละโรงเรียน จำนวน 3 คน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสนทนากลุ่มและแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า 1) วิธีปฏิบัติที่ดีของการหนุนเสริมโรงเรียนในโครงการครูรักษ์ถิ่นด้วย S.A.V.E Model ได้แก่ การร่วมเสนอแนวทาง (Solution: S) โดยการหนุนเสริมแบบกัลยาณมิตร และใช้ วPA ขับเคลื่อนการพัฒนา การเข้าถึงและพัฒนา (Access: A) โดยการสร้างแรงจูงใจให้กับครู และนำองค์ความรู้ที่สำคัญให้โรงเรียน กระจ่างชัดในคุณค่า (Value: V) โดยการค้นหาห้องเรียนติดดาว และให้วิเคราะห์ตนเอง การนำพาและต่อยอด (Encourage: E) โดยการสร้างเครือข่ายการพัฒนา และ 2) วิธีปฏิบัติที่ดีของโรงเรียนในโครงการครูรักษ์ถิ่นที่ได้รับการหนุนเสริมด้วยรูปแบบ S.A.V.E Model ได้แก่ PLC with Growth Mindset การใช้เทคนิค Lesson Study ให้ครูต้นแบบเป็นแบบอย่างในการจัดการเรียนการสอนเพื่อเป็นโค้ชให้กับครูท่านอื่น และมีกระบวนการนิเทศภายใน
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการคุรุสภาวารสารไม่จาเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนาทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทาการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ก่อนเท่านั้น
References
กัลชิญา ทองหัตถา. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1.
[วิทยานิพนธ์ปริญญาโท]. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
กิติศักดิ์ เกิดโต. (2558). กระบวนการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาโดยใช้ระบบพี่เลี้ยง Coaching and mentoring สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 2 จังหวัดอุตรดิตถ์. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
ทิศนา แขมมณี. (2559). การไตร่ตรองการสอน. วารสารราชบัณฑิตสภา, 41(2), 210–221.
พรนภา วัดน้อย, และทัศนะ ศรีปัตตา. (2565). กระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษาที่ส่งเสริมการพัฒนาการ
จัดการเรียนรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1. วารสาร Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(4), 45-59.
ภูริวัจน์ กิตติธัญวิวัตร์. (2560). การโค้ชด้วยหลักจิตวิทยาเชิงบวก. สถาบันโค้ชไทย.
ราศรี สวอินทร์, วิไลวรรณ วิไลรัตน์, ศุภรัตน์ มฤคี, มลิวรรณ รักษ์วงศ์ และวิทิต บัวปรอท. (2562). รายงานวิจัยการสร้างแรงบันดาลใจจากครูต้นแบบเพื่อพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่องของนักศึกษาวิชาชีพครูในสามจังหวัดชายแดนใต้ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณบำรุงการศึกษาประจำปี 2562. คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
เรวดี ชัยเชาวรัตน์. (2558). การขับเคลื่อนกระบวนการ PLC. สำนักพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
โรงเรียนทุ่งศุขลาพิทยา “กรุงไทยอนุเคราะห์”. (2562). การพัฒนารูปแบบการนิเทศภายใน
สถานศึกษาโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนทุ่งศุขลา พิทยา“กรุงไทยอนุเคราะห์”. [เอกสารที่ไม่มีการตีพิมพ์].
วรภาคย์ ไมตรีพันธุ์, ชวลิต เกิดทิพย์, และวรลักษณ์ ชูกำเนิด. (2558). บทบาทที่ท้าทายของอาจารย์นิเทศในการจัดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู. วารสารศึกษา
ศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี, 26(2),13-25.
วรลักษณ์ ชูกำเนิด. (2556). รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
บริบทโรงเรียนในประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก]. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สกาวรัตน์ ไกรมาก. (2553). คู่มือการนิเทศแบบชี้แนะสะท้อนคิด (Reflective Coaching Supervision) เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 . กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2.
สำนักงานกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา. (2564). การพัฒนารูปแบบการหนุนเสริมโรงเรียนในโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น.
สำนักงานกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา. (ม.ป.ป.ก). คู่มือการดำเนินการสำหรับทีมหนุนเสริมการพัฒนาโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกลเพื่อเตรียมความพร้อม
สำหรับการพัฒนาครูรุ่นใหม่ โครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น.
สำนักงานกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา. (ม.ป.ป.ข). คู่มือการดำเนินการสำหรับทีมหนุนเสริมการพัฒนาโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกลเพื่อเตรียมความพร้อม
สำหรับการพัฒนาครูรุ่นใหม่ โครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). แนวทางการจัดทำระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาที่เชื่อมโยงกับมาตรฐานการศึกษาของชาติโดยใช้แนวคิดระบบการวัดผลแบบ OKRs: Objective and Keys Results. บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จำกัด.
Acheson, K.A. & Gall, M.D. (2003). Clinical Supervision and Teacher Development : Preservice and Inservice Applications. New York : Wiley
and Sons.
Hodge, A. (2016). The Value of Coaching Supervision as a Development Process : Contribution to Continued Professional and Personal
Wellbeing for Executive Coaches. International Journal of Evidence Based Coaching and Mentoring, 12(2), 87-106.
Larenas S. (2017). 3 Ways to Cultivate a Growth Mindset in Your PLC. From https://corwin-connect.com/2017/01/3-ways-cultivate-growth-
mindset-plc/Latham, G.P., Ganegoda, D.B., and Locke, E.A. (2011). Goal Setting: A State Theory.
Blackwell, Publishing.
Linder-Pelz, S. (2014). Steps Towards the Benchmarking of Coach's Skills. International Journal of Evidence Based Coaching and Mentoring,
(1), 47-62.
McComb, C. (2013). Managing the Internal Labor Market in a Manufacturing Company: Explaining Coaching’s Perceived Ineffectiveness.
International Journal of Evidence Based Coaching and Mentoring, 11(1), 1-20.