การสร้างชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า ด้วย Programmable Logic Controller สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยการอาชีพเชียงราย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า ด้วย Programmable Logic Controller วิชาระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม รหัสวิชา 3104-2006 ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
วิธีการดำเนินการ ผู้วิจัยได้ออกแบบและสร้างชุดทดลองให้ตรงตามหลักสูตร ครอบคลุมเนื้อหาการเรียน จำนวน 6 หัวข้อเรื่อง ประกอบด้วย การสตาร์ทมอเตอร์โดยตรง, การกลับทางหมุนของมอเตอร์, การควบคุมให้มอเตอร์ทำงานเรียงกันตามลำดับ, การสตาร์ทมอเตอร์แบบสตาร์-เดลต้า, การควบคุมมอเตอร์สองความเร็ว และการประยุกต์ใช้เซนเซอร์ควบคุมการทำงานของมอเตอร์ จำนวน 9 ใบงานการทดลอง โดยเลือกใช้วัดสุ อุปกรณ์ที่มีคุณภาพสามารถจัดหาได้ง่ายในประเทศไทย และราคาประหยัด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้ได้แก่ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 แผนกช่างไฟฟ้า วิทยาลัยการอาชีพเชียงราย ปีการศึกษา 2560 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม ทำการศึกษาและทดลองโดยใช้ชุดทดลองที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
ผลการวิจัย พบว่า ชุดทดลองการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า ด้วย Programmable Logic Controller ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 86.6/83.5 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ของการวิจัย
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการคุรุสภาวารสารไม่จาเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนาทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทาการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ก่อนเท่านั้น
References
Foundation; 2012. (in Thai)
วิจารณ์ พานิช. วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ ๒๑. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์; ๒๕๕๕.
Sakchai Tantiwiwat. A Learning Management of Circuits Analysis for Mechatronics
Program Faculty of Industrial and Technology Education by Applied a Concept
of Less-Teach But Learn-More. The 7th National Conference on Technical
Education 2014; 6 Nov. 2014; King Mongkut’s University of Technology North
Bangkok. Bangkok; 2014. P.103-108. (in Thai)
ศักดิ์ชัย ตันติวิวัทน์. การจัดการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า สาขาวิชาวิศวกรรม
แมคคาทรอนิกส์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี โดยการประยุกต์ใช้แนวคิด
การสอนน้อยแต่เรียนรู้มาก. เอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการครุศาสตร์
อุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ ๗ ประจาปี ๒๕๕๗; ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๗; มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. กรุงเทพฯ; ๒๕๕๗. หน้า ๑๐๓-๑๐๘.
Porntip Sriripatrachai. STEM Education with Skills Development in 21st Century.
Administrator
Journal. 2013; 2: p.49-56. (in Thai)
พรทิพย์ ศิริภัทราชัย. STEM Education กับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑. วารสารนักบริหาร. ๒๕๕๖; ๒: ๔๙-๕๖.
Chatree Koedham. Learning Management Technique Which Focus on Learners. Bangkok: Thai
Wattanapanit Publishing; 2002. (in Thai)
ชาตรี เกิดธรรม. เทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช; ๒๕๔๕.
อำนวย เดชชัยศรี. นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ ๑ , ๒๕๔๔.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์, สมเชาว์ เนตรประเสริฐ,สุดา สินสกุล. ระบบสื่อการสอน. คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , ๒๕๒๐
ลัดดา ศุขปรีดี. เทคโนโลยีการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ ๓ โรงพิมพ์พิฆเณศ, ๒๕๒๒. วาสนา ชาวหา.
เทคโนโลยีทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ ๒ สำนักพิมพ์กราฟิคอาร์ต, ๒๕๒๕. ๑๕๘ หน้า
ภรณี ทรรษพัฒนกุล. เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา. บุรีรัมษ์ เรวัตการพิมพ์, ๒๕๓๙, ๑๙๐ หน้า
สิทธิพงศ์ ยุวจิตติ. การควบคุมมอเตอร์และการโปรแกรม. กรุงเทพฯ : ศูนย์วิจัยและพัฒนา อาชีวศึกษา, ๒๕๓๙
สุพรรณ กุลพาณิชย์. Programable control เทคนิคและการใช้งานเบื้องต้น.
กรุงเทพฯ : บริษัท ออมร่อนตรีศักดิ์ จำกัด, ๒๕๓๓ คู่มือการใช้ PC ของผู้แทนจำหน่าย
ต่าง ๆ ชุดฝึกและใบงานโปรแกรมเมเบิลคอนโทรล ของ บริษัทแสงชัย บริษัทเที่ยงกิจ
เทรดดิ่ง จำกัด
ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (๒๕๔๗). เทคโนโลยีทางการศึกษา: หลักการและแนวปฏิบัติ.
กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.
เตือนใจ อาชีวะพนิช. (๒๕๔๒). การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอนวิชาการวิเคราะห์วงจรข่าย
หลักสูตรครุศาสตร์ อุตสาหกรรมบัณฑิต. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาบัณฑิต
สาขาวิชาไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอม
เกล้าพระนครเหนือ.
บุญชม ศรีสะอาด. (๒๕๔๓). การพัฒนาการสอน. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน์.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (๒๕๓๙). หลักการวิจัยทางการศึกษา.
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
สมนึก ภัททิยธนี และคณะ. (๒๕๔๘). พื้นฐานการวิจัยการศึกษา. มหาสารคาม:
ภาควิชาการวิจัยและพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สมพงษ์ การภักดี. (๒๕๔๒). “การสร้างและหาประสิทธิภาพ เรื่องระบบจุดระเบิดและการเผาไหม้
ในเครื่องยนต์แกซโซลีน” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาเครื่องกล คณะครุศาสตร์
อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
Porntip Sriripatrachai. STEM Education with Skills Development in
21st Century.Administrator Journal. 2013; 2: p.49-56. (in Thai)
พรทิพย์ ศิริภัทราชัย. STEM Education กับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑. วารสารนักบริหาร.
๒๕๕๖; ๒ : ๔๙-๕๖.
Chatree Koedham. Learning Management Technique Which Focus on Learners.
Bangkok: Thai Wattanapanit Publishing; 2002. (in Thai)
ชาตรี เกิดธรรม. เทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทยวัฒนา
พานิช; ๒๕๔๕.
ไชยยศ เรืองสุวรรณ. เทคโนโลยีทางการศึกษาหลักการและปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์
วัฒนาพาณิช, ๒๕๒๑.
ชม ภูมิภาค. เทคโนโลยีทางการสอนและศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ประสานมิตร,
๒๕๒๗.
ลัดดา สุขปรีดี. เทคโนโลยีการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์พิฆเณต, ๒๕๒๓.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ .เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา.
กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์สุวีริยาสาส์น :, .๒๕๔๓
Programmable Controller FP User’s Manual, Panasonic Electric Works, 2010
พิเชษฐ์ พุมมา. การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอนวิชาวิศวกรรมการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์
เรื่องระบบการสื่อสารแบบดิจิตอล หลักสูตรอุตสาหรรมศาตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล.
วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิตสาขาวิชาไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า บัณฑิตวิทยาลัย
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ๒๕๔๘.
ศรัณย์ ชูคดี. การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอนวิชาระบบโทรศัพท์
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ๒๕๔๘.
กฤษฎา ตาคำวัน. การสร้างและทดสอบประสิทธิภาพชุดการสอนวิชาการสื่อสารทางแสง
หลักสูตรอุตสาหกรรมศาตรบัญฑิต.วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาไฟฟ้า
ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ๒๕๔๙.