การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเชิงรุก เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) The Active Blended Learning Management on the Diversity of Life for Matthayom Suksa 6 Students under the Epidemic Situation of the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)

Main Article Content

เดชาธร บงค์บุตร

บทคัดย่อ

              The objectives of this research were 1) to determine the effectiveness of the proactively blended learning management plan according to the 80/80 criterion, 2) to determine the learning effectiveness index of the created lesson plans, and 3) to compare the learning achievement first. and after school and 4) to study student satisfaction towards learning management This research uses a research model which is One Group Pretest-Posttest Desing, in which the research sample is Mathayomsuksa 6/11 students at Bueng Kan School. Mueang Bueng Kan District Bung Kan Province, the second semester of the academic year 2021, consisted of 32 students. The research instruments were 1) a proactive blended learning management plan 2) an achievement test and 3) a satisfaction assessment form. The statistics used in the data analysis were mean, standard deviation, percentage, Conformity Index (IOC), and effectiveness of the learning management plan using the formula E1/E2.


              The results of the research were as follows: 1) A proactive blended learning management plan. The efficiency of the process on the efficiency of the results (E1/E2) was 81.04/80.30, meeting the criteria of 80/80. 2) The learning management effectiveness index was 0.711. higher than before. 3) Proactively integrated teaching and learning management. In the epidemic situation of coronavirus disease 2019 (COVID-19) at the Mathayom 6 level, there was a statistically significantly higher educational achievement after school at the .05 level than before, according to the National Institutes of Health. and 4) the students were satisfied with their studies with the learning plans they created. At the very satisfying level (  X  = 3.84) after receiving the proactive blended learning management.


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมควบคุมโรค. (2563). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (รายงาน COVID-19 ประจำวัน). สืบค้น 10

กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://data.go.th/dataset/covid-19-dail

กิตติยา วงษ์ขันธ์. (2561). การออกแบบการวิจัย รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณการกำหนดตัวอย่างและวิเคราะห์ข้อมูล

(โครงการฝึกอบรม “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ (ลูกไก่)” รุ่นที่ 6). สืบค้น 10 กุมภาพันธ์ 2565, จาก

https://www.ubu.ac.th/web/files_up/08f2019050616142231.pdf

กุลธิดา ทุ่งคาใน. (2564). การเรียนรู้แบบผสมผสาน Blended Learning ในวิถี New Normal Blended Learning

in a New Normal. ครุศาสตร์สาร, 15(1), 29-43.

งานโรคติดต่ออุบัดใหม่ กลุ่มพัฒนาวิชาการโรคติดต่อ. (2564). สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

มาตรการสาธารณาสุข และปัญหาอุปสรรคการป้องกันความคุมโรคในผู้เดินทาง.ค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2565,

สืบค้นจาก https://ddc.moph.go.th/uploads/files/2017420210820025238.pdf

จินตนา วีระปรียากูรและเผชิญ กิจระการ. (2562). การพัฒนาโมเดลสภาพแวดล้อมการจัดการ เรียนการสอน

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารแบบผสมผสานด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อส่งเสริมทักษะในการสื่อสารเชิง

สร้างสรรค์ และทักษะการทำงานร่วมกันของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี. วารสารราชพฤกษ์, 17(2), 43-55.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(1), 1-

ธีระ กุลสวัสดิ์. (2558). การหาคุณภาพของเครื่องมือในการวิจัย. การประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ในเรื่อง

ของเทคนิคการทำวิจัยเชิงปริมาณ, 19 มิถุนายน 2558 ชลบุรี: คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

บุญญาธิดา ท้วมจันทร์. (2564). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานเชิงรุกโดยใช้บริบทท้องถิ่นเป็นฐาน

วิชาภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เน้นการสื่อสารเพื่อเตรียมความพร้อมสู่เขตเศรษฐกิจ

พิเศษเชียงราย. คุรุสภาวิทยาจารย์ JOURNL OF TEACHER PROFESSIONAL DEVELOPMENT, 2(1), 25-36.

ปนัดดา สุกเอี่ยม. (2555). ผลของการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน เรื่อง พลเมืองดีของสังคมของนักเรียนชั้น

ประถมศึกษาปีที่ 5. ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

เผชิญ กิจระการ. (2544).การวิเคราะห์ประสิทธิภาพสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา E1/ E 2. วารสารการวัดผล

การศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 5(11), 44-51.

แฝงกมล เพชรเกลี้ยง, ทรรศนัย โกวิทยากร, จิราพร อุทัยวัฒน์, ทัชชา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา และมาเรียม

นิลพันธุ์. (2563). การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานในยุค New Normal เพื่อส่งเสริมสมรรถนะ

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงรุกของนักศึกษาครู. ครุศาสตร์สาร, 14(2), 71-83.

ทศพร ดิษฐ์ศิริ, ณัฐพล รำไพ และสูติเทพ ศิริพิพัฒนกุล. (2564). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วย

วิธีการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของนักศึกษาวิชาชีพครู.

วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 12(2), 197-209.

มนธิชา ทองหัตถา. (2564). สภาพการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส

โคโรนา 2019 (COVID-19) ของครูกลุ่มสาระการการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศโรงเรียนปากพนัง จังหวัด

นครศรีธรรมราช. วารสารลวะศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี, 5(1), 43-52.

มติชนออนไลน์. (2564). สพฐ. ออกแนวปฏิบัติให้ ร.ร. เตรียมการก่อนเกิดเทอม 1 พ.ย. สืบค้น 10 กุมภาพันธ์ 2565,

จาก https://www.matichon.co.th/education/news_3010778

มารุต พัฒผล, จิตติรัตน์ แสงเลิสอุทัย, จำรัส อินทลาภาพร, ฤกษ์ฤดี นาควิจิตร, ศิรินทร มีขอบทองและหริณวิทย์

กนกศิลปกรรม. (2564). เอกสารประกอบการสัมมนาโครงการครูนักวิจัยในชั้นเรียน: การเรียนรู้แบบ

ผสมผสานเชิงรุก. สืบค้น 10 กุมภาพันธ์ 2565, จาก http://www.curriculumandlearning.com/upload/

Books/Active%20Blended%20Learning_1624422035.pdf

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 6 (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค.

ลาดพร้าว.

สุขนิษฐ์ สังจสูตร และจอมเดช ตรีเมฆ. (2564). การศึกษาความพึงพอใจต่อรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ใน

สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ของมหาวิทยาลัยรังสิต. งานประชุมวิชาการระดับชาติ

มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2564, 30 เมษายน 2564 กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรังสิต.

สุรไกร นันทบุรมย์. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนรู้แบบผสานวิธีห้องเรียนกลับด้านพื้นที่การเรียนและการ

เรียนรู้เชิงรุก. วารสารห้องสมุด, 61(2), 45-63.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศักราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). แนวทางการจัดการเรียนการสอนของ

โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส

โคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศึกษา 2563. สืบค้น 10 กุมภาพันธ์ 2565, จาก http://www.ccs1.go.th/

gis/eoffice/57000001tbl_datainformation/2020070374943JQaUHUy..pdf

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2564). การเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

ด่วนที่สุด ที่ ศธ 04001/ว4830 ลงวันที่ 29 ตุลาคม 2564 (หนังสือราชการ). สืบค้น 10 กุมภาพันธ์ 2565, จาก

https://www.obec.go.th/wp-content/uploads/2021/10/04001-%E0%B8%A74830.pdf

อัญญาณี มุ่งพิงกลางและดนิตา ดวงวิไล. (2562). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ชนิดของประโยค ระดับชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้, 5(1), 85-

BBC NEWS ไทย. (2564). โควิด: พบ “คลัสเตอร์สถานศึกษา” หลายจังหวัด หลังกลับมาเรียนออนไซต์ไม่ถึง 1 เดือน.

สืบค้น 10 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-59346021

Thai PBS. (2565). ศบค. เปิดแผนเชิญเหตุ พบ นร. ติดโควิดในโรงเรียนต้องทำอย่างไร?. สืบค้น 10 กุมภาพันธ์ 2565,

จาก https://news.thaipbs.or.th/content/312313

Shenker, J. I. , Goss, S. A. and Bernstein, D. A. (1996) . Instructor,s Resource Manual for Psychology:

Implementing Active Learning in the Classroom. Retrieved February, 10th 2022, from

https://s.prych/uiuic.edu/~jskenker/active.html. ToSchool.in (2021). ToSchool. Retrieved February, 10th 2022, from https://www.toschool.in/bksc/.