การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิคเกมมิฟิเคชั่น เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร Development of a learning management model using gamification techniques on the topic of Sufficiency Economy to enhance problem-solving skills for Mathayomsuksa 2 students at Waritchaphum Secondary School, Sakon Nakhon Secondary Educational Service Area Office

Main Article Content

ศุภาพิชญ์ อุดรสรรพ์

บทคัดย่อ

 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคเกมมิฟิเคชัน เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ 2) เปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาก่อนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ นักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ 1) รููปแบบการจัด การเรียนรู้ด้วยเทคนิคเกมมิฟิเคชั่น 2) แผนการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ จำนวน 6 แผน 3) แบบวัด ทักษะการแก้ปัญหา จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือได้แก่ ดัชนีความสอดคล้อง (Item - objective Congruence : IOC) ค่าความยากง่าย (p) ค่าอำนาจจำแนก (r) และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใช้สููตรสัมประสิทธิ์ของครอนบาค (Alpha’s Cronbach) สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (X) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) และการทดสอบ โดยใช้สถิติ t - test Dependent Samples


 


ผลการวิจัยพบว่า 1) รููปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคเกมมิฟิเคชั่น เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการของรููปแบบ 2) วัตถุประสงค์3) เนื้อหา 4) กระบวนการสอน และ 5) การวัดประเมินผล ซึ่งคุณภาพด้านความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย 4.92 และเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.109 และ 2) ผลการเปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01

Article Details

How to Cite
อุดรสรรพ์ ศ. . (2024). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิคเกมมิฟิเคชั่น เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวาริชภูมิ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร: Development of a learning management model using gamification techniques on the topic of Sufficiency Economy to enhance problem-solving skills for Mathayomsuksa 2 students at Waritchaphum Secondary School, Sakon Nakhon Secondary Educational Service Area Office. คุรุสภาวิทยาจารย์, 5(3), 31–45. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/withayajarnjournal/article/view/252996
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. โรงพิมพิมพ์คุรุสภา

ลาดพร้าว.

กุลศิริ โจมพรม. (2551). การพัฒนาสิ่งแวดดร้อมทางการเรียนรู้บนเครือข้ายตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์

ที่ส่งเสริมกระบวนการคิดแก้ปัญหา วิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

จุทามาศ มีสุข. (2558). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของนักเรียน โดยใช้

เทคนิคเกมิฟิเคชั่น สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุกล

นารี. วิทยานิพนธ์ ค.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ชนัตถ์ พูนเคชและธนิดา เลิศพรกุลรัตน์. (2559). "แนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยแนวคิด

เกมมิฟิเคชั่น," วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. 18(3): 331-339.

ชุติกาญจน์ ศรีพระจันทร์. (2565). การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา

ปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการรู้เรื่องภูมิศาสตร์. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พัชรา ทิพย์ทัศน์. (2551). คุณลักษณะผู้นำการเปลี่ยนแปลง. (ออนไลน์). สืบค้นจาก

http://www.br.a c.th/E-lcaming/esson 13 html.20 กุมภาพันธ์ 2565.

พิสิฐ โมกขาว. (2561). การส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาด้วยบทเรียนแสวงรู้บนเว็บที่มีการเสริม

ศักยภาพทางการเรียนวิชาการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

โรงเรียนบรบือ. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ภาสกร ใหลสกุล. (2562). Gamification จากกลยุทธ์การตลาดสู่ห้องเรียนคณิตศาสตร์.

สืบค้นจาก https://emagazine.ipst.ac.th/221/29/

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2551 ข ). เรียนรู้หลักการทรงงาน

ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: สำนักงานยุทธศาสตร์ด้านนโยบายสาธารณะ.

______. (๒๕๖๐). ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการ

พัฒนาการเศรษรูกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักยุทธศาสตร์ด้านน โยบายสาธารณะ

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558). คู่มือบริหารการ

จัดการเวลาเรียนตามนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้. กรุงเทพฯ: สำนักฯ .

สมชาย รัตนทองคำ. (2556). เอกสารประกอบการสอน 4 75 7 88 การสอนทากายภาพบำบัด ภาคต้นปี

การศึกษา 2556.

สุภาศิริ ไพรสุภา. (2561). การเรียนรู้ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21. (ออนไลน์). สืบค้นจาก

https://medium.com/@joy.supasiri9E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%

A3%E0%B9. 1 กุมภาพันธ์ 2565.

สิทธิชัย สระตอมูฮัมหมัด. (2561). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคเกมมิฟิเคชั่นเพื่อยกระดับ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี. (ออนไลน์). สืบค้นจากhttp://www.ska2.go.th/reis/data/research/2561 1231_115423 _ 0945.pdf. 30เมษายน 2565

สุชัญญา เยื้องกลาง และคณะ. (2562), การพัฒนาระบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้เกมมิฟิเคชั่น

เป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาและทักษะการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์สู่ชีวิตจริงระดับประถมศึกษา.วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิอีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

อดิศักดิ์ เมฆสมุทร. (2559). การพัฒนาความสามารถการอ่านควบกล้ำโดยใช้หนังสือส่งเสริม

การอ่านร่วมกับเทคโนโลยีผสานความจริง ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้เทคนิคเกมมิฟิเคชัน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

Caton, H. and Greenhill, D. (2013), "The Effects of Gamification on Student Attendance

And team Performance in a Third-year."* Undergraduate Game Production module.In European conference on Games Based Learning ๑๘(๓): ๘๘.

Dewey, J. (1993). How to Think. Boston: D.C.Health Company.

Fosnot, C.T.(1996). Constructivism: Theory, Perspective, and Practice. Teacher College Press.

Guiford, J.P. and Hepfner Ralph. (1971). The Analysis of Intelligence. New York. : Mcgraw-Hill

Book Company.

Joyce, B., and Weil. M. (1996). Models of Teaching, 5th ed. New York: Allyn &

Bacon.

______. (1972). Information Processing Model of Teaching. New Jersey: Prentice-Hall.

______. (2000). Models of Teaching. 6th ed. Boston: Allyn and Bacon.

Martin, Ralph E.Jr, et al. (1944). Teaching Science for all Children. Massachusett: Allya and

bacon.

Saylor Galen J. and Alexander, W.M. (1974). Planning Curriculum for Schools. 3rd ed.

New York: Holt Rinchart and Winston.