การพัฒนาการแก้โจทย์ปัญหาการบวกโดยใช้ระบบการวิเคราะห์งานของเด็กที่มีภาวะออทิซึม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนกาวิละอนุกูล Development of Positive Problem Solving Using Task Analysis System of Childrenwith Autism Primary School Year 5 Kawila Anukul School
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่่อสร้างและหาประสิทธิภาพของแผนการสอนเฉพาะบุคคล เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาการบวกด้วยใช้ระบบการวิเคราะห์งานของเด็กที่มีภาวะออทิซึมชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนกาวิละอนุกูล และ 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์การแก้โจทย์ปัญหาการบวกโดยใช้ระบบการวิเคราะห์งาน ของเด็กที่มีภาวะ ออทิซึมชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนกาวิละอนุกูล รููปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ พื้นที่วิจัย คือโรงเรียนกาวิละอนุกูล กลุ่มเป้าหมาย คือ เด็กที่มีภาวะออทิซึม จำนวน 1 คน ใช้วิธีคัดเลือกแบบ เจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี 2 ชนิด ได้แก่ 1) เครื่องมือที่เป็นนวัตกรรม และ 2) เครื่่องมือรวบรวมข้อมููล
ผลการวิจัยพบว่า 1) แผนการสอนทั้ง 4 ชุุด มีผลการประเมินลิเคอร์ท (Likert) อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.82 2 ) เด็กที่มีภาวะออทิซึมมีทักษะการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ระดับดี มากกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 80 ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์หรือนำไปใช้ในการนำระบบวิเคราะห์งานไปเป็นแนวทาง ในการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็กที่มีภาวะออทิซึมเรื่องการแก้โจทย์ปัญหาการบวกและเรื่องอื่น ๆ ได้
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการคุรุสภาวารสารไม่จาเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนาทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทาการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารคุรุสภาวิทยาจารย์ก่อนเท่านั้น
References
ดวงเดือน อ่อนน่วม. (2557). เทคนิคในการสอนเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ดุสิต ลิขนะพิชิตกุล. (2558). การศึกษาภาวะออทิซึมในประเทศไทยและการดูแลรักษาแบบบูรณาการใน
ระดับประเทศ. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย. 13(1), 10 - 16.
เนาว์เย็นผล. (2556). กิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยใช้การแก้ปัญหาปลายเปิดสำหรับนักเรียน
มัธยมศึกษาปีที่ 1. (ปริญญานิพนธ์ ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์).มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ , กรุงเทพมหานคร.
ประกฤติ พูลพัฒน์. (2557). การจัดการศึกษาสำหรับเด็กปัญญาอ่อน. กรุงเทพฯ : แว่นแก้ว.
ประภาวดี สุภัควณิช. (2557). สุขภาพจิตและพฤติกรรมการดูแลเด็กออทสิติกของผู้ดูแล. วิทยานิพนธ์พยาบาล
ศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ปรีชา.
ผดุง อารยะวิญญู. (2546). การวิจัยแบบกลุ่มตัวอย่างเดี่ยว. Single Subject Design. ภาควิชาการศึกษา
พิเศษคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พรพิรุณ บุตรดา. (2556). การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การคิด วิเคราะห์
และมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างการเรียนด้วยวิธีสอนโดยใช้ยุทธศาสตร์เมตาคอกนิชันกับการเรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติ.วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ยุพิน พิพิธกุล. (2557). การเรียนการสอนคณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์บพิธการพิมพ์.
รัชนีกร ทองสุขดี. (2559). มารู้จักออทิซึมกันเถอะ. เอกสารประกอบการอบรมครูผู้สอน เด็กออทิสติก ณ
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 3-4 เมษายน 2559. โดยคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วีระศักดิ์ เลิศโสภา. (2555). ผลการใช้เทคนิคการสอน เค ดับเบิ้ลยู ดี แอล ที่มีผลสัมฤทธิ์ในการแก้โจทย์
ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมเกตุ อุทธโยธา. (2560). การศึกษาแบบเรียนรวม, พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่: ส.อินฟอร์เมชั่น เทคโนโลยี.
สิริพร ทิพย์คง. (2556). การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว
สุจินต์ สว่างศรี. (2557). แนวทางการจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา. กรุงเทพฯ :
สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
อัมพร ม้าคะนอง. (2558). ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ : การพัฒนาเพื่อพัฒนาการ.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุษาวดี จันทรสนธิ. (2556). “การประเมินความสามารถทางคณิตศาสตร์” ใน ประมวลสาระ ชุดสารัตถะและ
วิทยวิธีทางคณิตศาสตร์. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศึกษาศาสตร์.